SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 17
Descargar para leer sin conexión
ถ้าจะพูดตามหลักของพระพุทธเจ้าแล้ว
การไม่ปล่อยจิตใจของเราไปเล่นอารมณ์ภายนอกคือนอกจากกาย ใจ ของตนแล้ว
เรียกว่าฝึ กอบรมสติเพื่อให้มีกาลังแก่กล้า เป็ นมหาสติใหญ่ที่เรียกว่า “อินทรีย์แก่กล้า”
สามารถบังคับจิตใจให้สงบเป็ นสมาธิได้ง่าย..
...การพิจารณาให้ถือเอารู้รูปกายตามความเป็ นจริง รู้เวทนาตามความเป็ นจริง
รู้จิตตามความเป็ นจริง ให้ยึดถือความรู้นี้เป็ นหลัก ความรู้อย่างอื่นไม่สาคัญ
ถึงจะเกิดอภิญญารู้ในเหตุผลต่างๆครั้งแรกๆก็อาจเป็ นจริง แต่ถ้าเรายึดถือในสิ่งเหล่านี้ต่อไป
ก็จะกลายเป็ นเรื่องหลอกลวงเรา ท่านจึงห้ามไม่ให้เอาสิ่งนิมิตเป็ นเรื่องสาคัญ
การภาวนาไม่มีกาลมีเวลาเรียกว่า อกาลิโก เว้นเสียแต่นอนหลับจะพูดจะคุยอยู่ก็เรียกว่าภาวนา ถ้ามีสติอยู่
เพราะสิ่งใดถ้าเกี่ยวกับจิตใจจัดว่าเป็ นภาวนาทั้งนั้น อย่างแสดงธรรมจัดเป็ นภาวนา
ผู้ที่นั่งฟังธรรมก็จัดว่าภาวนา เพราะตั้งใจฟัง เรียกว่าสัมธัมมัสสวนมัย สัทธัมมัสเทศนามัย ...
ตกลงภาวนานี้ สร้างความไม่ประมาท คือพยายามสร้างสติ
พูดตามปริยัติ“สติ”แปลว่าความระลึกได้ในกิจที่ได้กระทา แม้คาพูดทั้งในอดีตและปัจจุบัน
ในทางปฏิบัติ “สติ” แปลว่าระลึกอยู่ที่ใจ ไม่ให้รู้ไปตามสิ่งอื่น ถึงจะมีสัญญาอะไรก็ไม่ให้เคลื่อนไหวไปตามอาการนั้น
กาหนดรู้นิ่งไว้อย่างนั้น ระลึกอยู่ที่ใจ ใจก็หมายถึงผู้รู้ ตามธรรมดาสติมักจะส่งไปภายนอก
ชอบเล่นอารมณ์ สังขารที่ปรุงแต่งไม่ว่าจะคิดดี คิดร้าย คิดไม่ดี ไม่ร้าย
เราจะต้องพยายามฝึ กหัดละวางอารมณ์เหล่านี้
อย่าให้จิตส่งออกไปภายนอก ให้สติอยู่ที่ผู้รู้เท่านั้น
ความประมาทเป็ นหนทางแห่งความตาย
คาว่าตายในที่นี้ ไม่ได้หมายความว่าร่างกายเราตาย
หมายถึงจิตใจคนเราตาย คือตายจากมรรคผลนิพพานต่างหาก
ความไม่ประมาทเป็ นหนทางแห่งความไม่ตาย คือ ไม่ประมาทต่อการทาความดี ได้แก่
ศีล สมาธิ ปัญญา มีโอกาสจะได้ไปสวรรค์ พรหมโลก หรือมรรคผลชั้นใดชั้นหนึ่ง
ตลอดถึงพระนิพพานข้างหน้าแน่นอน ช้าหรือเร็วแล้วแต่บุญบารมี
หรือความพากเพียรของตนเอง
ความเห็นที่ถูกนั้นคือ “การเห็นจิตตามความเป็ นจริง เห็นกายตามความเป็ นจริง”
คือเห็นธาตุ๔ คือ ดิน น้า ลม ไฟ ของตนและของคนอื่นสักแต่ว่าเป็ นธาตุ
ไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตนตัว เราเขา และเห็นว่าเป็ นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
ถ้าเราสามารถเห็นได้แบบนี้แล้ว เรียกว่า “เห็นกายตามความเป็ นจริง”
บางคนภาวนา ไปอยากเห็นภาพต่างๆ เช่น นรก สวรรค์ เทวดา
การที่ได้เห็นสิ่งเหล่านี้ไม่มีอะไรแปลกที่ว่าไม่แปลกก็เพราะว่า
เมื่อเราเห็นแล้ว กิเลสของเราก็ยังอยู่เหมือนเดิม
บางคนแถมยังทาให้เกิดกิเลสเพิ่มมากขึ้นอีกเสียด้วย...
คือถือว่าตนเองเป็ นผู้วิเศษ ที่สามารถเห็นสิ่งต่างๆ เหล่านั้นได้
เลยไม่ยอมกราบไหว้ใครทั้งสิ้น จนกลายเป็ น สัคคาวรณ์ มัคคาวรณ์
ปิ ดกั้นทางมรรค ทางผล ทางนิพพาน ไปโดยปริยาย
การภาวนานี้มิใช่ท่านหมายเอาการเดินจงกรมตลอดวัน
นั่งสมาธิตลอดคืน ความจริงแล้วท่านหมายเอาผู้ที่มีสติจดจ่อ
อยู่กายกับใจทุกอิริยาบถ ยิน เดิน นั่ง นอน เป็นประจาอยู่
เมื่อจิตใจรวมลงได้ละเอียดเป็นหนึ่ง
ถึงแม้ว่า จะมีสัญญาอยู่บ้างก็ตาม ให้เรากาหนดนิ่งเฉย
คาว่า “นิ่งเฉย”นี้ เปรียบเหมือนกับนายพรานดักเนื้อ
เขาจะนั่งอยู่นิ่งๆ ไม่เคลื่อนไหว
แต่ตาของเขาจะมองดูสัตว์ต่างๆ ที่จะดักฉันใด
การตั้งสติกาหนดจิต ก็ฉันนั้น
ถึงแม้ว่าบุคคลใดจะทาสมาธิได้ดี จะได้รับความสุขขนาดไหนก็ตาม
หรือจะได้อภิญญาเพียงใดก็ตาม ถ้า “ไตรลักษณญาณ” ยังไม่เกิดแล้วก็ยังนับว่าเป็ น มิจฉาสมาธิ
เป็ นสมาธิที่ยังผิด ยังอยู่ในวงเขตที่ผิด
ความโลภ ความโกรธ ความหลง สามประการนี้ มันสามารถทาให้
ผู้รู้แจ้งเป็ นคนมืดก็ได้ ฤทธิ์ของมันน่ะ มันอยู่เหนือทุกคนในโลกที่ได้
เกิดมาในโลกนี้ ยกเว้นเสียแต่พระอรหันต์
ความไม่ประมาท คือ เป็ นผู้มีสติจดจ่ออยู่ที่ กาย และใจ
ทุกอิริยาบถทั้ง 4 คือ ยืน เดิน นั่ง นอน
ไม่มีการเผลอสติจากอิริยาบถทั้ง 4 จึงจัดว่าเป็ นผู้ไม่ประมาท
บรรดาสิ่งสมมุติที่เราไปยึดถือว่าเป็ นกรรมสิทธิ์ของเรานั้น
ก็จะได้เพียงชีวิตหนึ่งๆ เท่านั้น ไม่ว่าจะเป็ นสามี ภรรยา หรือสมบัติต่างๆ
เมื่อเราตายไปแล้ว เราจะยึดถือเป็ นกรรมสิทธิ์ของเราอีกไม่ได้
เราจะเอาสิ่งต่างๆ เหล่านั้นติดตามไปสวรรค์ นรก หรือที่ไหนๆก็ไม่ได้
ตรงกับคาว่า “สมบัติของโลก ก็ต้องอยู่ในโลก”
สาหรับ ผู้ปฎิบัติธรรม มารที่เข้ามาผจญนั้นมีมาก ต้องระวังด้วยสติปัญญา
ทางเข้าออกของสมุนมาร คือ ตา...หู...จมูก...ลิ้น...กายและใจ
ถ้าแม้เราอ่อนแอ เราสู้ไม่ได้ ชาตินี้เราก็หมดที่พักพิงเพราะ...อวิชชา...เป็ นเหตุ
บุคคลที่มีทาน ศีล แต่ขาดการภาวนานั้น
เปรียบเหมือนบุคคลที่มีเสบียงพร้อมแล้ว มีร่างกายที่สมบูรณ์ มีกาลังวังชาดี
แต่บุคคลนั้นเป็ นบุคคลที่ตาบอด เขาย่อมไม่สามารถจะเดินทางไปสู่พระนิพพานได้

Más contenido relacionado

La actualidad más candente (7)

Luangpor puth1
Luangpor puth1Luangpor puth1
Luangpor puth1
 
Luangpoo lar
Luangpoo larLuangpoo lar
Luangpoo lar
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา
 
Angry
AngryAngry
Angry
 
บูรพาจารย์ 3
บูรพาจารย์ 3บูรพาจารย์ 3
บูรพาจารย์ 3
 
ตามรอยบูรพาจารย์ 9
ตามรอยบูรพาจารย์ 9ตามรอยบูรพาจารย์ 9
ตามรอยบูรพาจารย์ 9
 
Pra ajarn boonchan
Pra ajarn boonchanPra ajarn boonchan
Pra ajarn boonchan
 

Similar a Luangpoo kumdee

เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
Phairot Odthon
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
พัน พัน
 

Similar a Luangpoo kumdee (10)

คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
Jitpontook
JitpontookJitpontook
Jitpontook
 
Luangpoo lee
Luangpoo leeLuangpoo lee
Luangpoo lee
 
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
 
นิเทศการศึกษา
นิเทศการศึกษานิเทศการศึกษา
นิเทศการศึกษา
 
นิเทศการศึกษา
นิเทศการศึกษานิเทศการศึกษา
นิเทศการศึกษา
 
Luangpor intawai113
Luangpor intawai113Luangpor intawai113
Luangpor intawai113
 
Loangpoo budda
Loangpoo buddaLoangpoo budda
Loangpoo budda
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 

Más de MI

Más de MI (20)

คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
 
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโตคำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
 
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญคำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
 
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำคำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
 
คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์
 
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
 
Luangpoo jarm
Luangpoo jarmLuangpoo jarm
Luangpoo jarm
 
Luangta 11
Luangta 11Luangta 11
Luangta 11
 
Buddha's quotes
Buddha's quotesBuddha's quotes
Buddha's quotes
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
 
Luangpor intawai112
Luangpor intawai112Luangpor intawai112
Luangpor intawai112
 
Great dharma masters1
Great dharma masters1Great dharma masters1
Great dharma masters1
 
Luangta mahabua3
Luangta mahabua3Luangta mahabua3
Luangta mahabua3
 
Luangta mahabua1
Luangta mahabua1Luangta mahabua1
Luangta mahabua1
 
Light of buddhism1
Light of buddhism1Light of buddhism1
Light of buddhism1
 
Luangpor intawai19
Luangpor intawai19Luangpor intawai19
Luangpor intawai19
 
Luangpor intawai 18
Luangpor intawai 18Luangpor intawai 18
Luangpor intawai 18
 
Luangpor intawai17
Luangpor intawai17Luangpor intawai17
Luangpor intawai17
 
Luangpor intawai16
Luangpor intawai16Luangpor intawai16
Luangpor intawai16
 

Luangpoo kumdee