SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 10
Descargar para leer sin conexión
(1)
                                                    คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ

                               การจัดเตรียมหนังสือ
                                 หนังสือเป็นสารนิเทศที่ห้องสมุดทั่วไปจัดหามา เพื่อให้บริการมากกว่าวัสดุ
                        สารนิเทศประเภทอื่น แต่ก่อนที่จะนาหนังสือออกให้บริการ ห้องสมุดจะต้อง
                        ดาเนินการจัดเตรียมหนังสือแต่ละเล่มหรือแต่ละประเภทให้อยู่ในระบบที่
                        ถูกต้องเรียบร้อยเสียก่อน ทั้งนี้เพื่อให้พร้อมและสะดวกต่อการให้บริการ


     การจัดเตรียมหนังสือขั้นต้น

                      การจัดเตรียมหนังสือขั้นต้น ได้แก่ การเปิดหนังสือใหม่และการ
                ตรวจสภาพหนังสือ การประทับตราห้องสมุด และการลงทะเบียน




         การเปิดหนังสือใหม่และการตรวจสภาพหนังสือ
         การเปิดหนังสือใหม่ เป็นการช่วยให้ด้ายเย็บหนังสือคลายออกหรือยืดออก ทาให้หนังสือใหม่ที่
เปิดอ่านไม่พลิกกลับ การเปิดหนังสือใหม่ให้ปฏิบัติดังนี้คือ
          ตั้งสันหนังสือกับพื้นราบแล้วเปิดปกหน้าและปกหลังกดลงไปให้ราบกับพื้น
          เปิดหน้าหนังสือจากปกด้านหน้าประมาณ 8-10 หน้า ใช้นิ้วกดรีดเบา ๆ ที่ขอบสันจาก
                 ด้านบนลงด้านล่าง
          เปิดหน้าหนังสือจากปกด้านหลังประมาณ 8-10 หน้า ใช้นิ้วกดรีดเบา ๆ ที่ขอบสันจาก
                 ด้านบนลงด้านล่าง
          ทาตาม ข้อ 2 และ 3 สลับกันจนบรรจบกันที่กลางเล่ม (จานวนหน้าที่เปิดออกทั้งด้านซ้าย
                 และขวาจะมีประมาณเท่า ๆ กัน) เป็นอันเสร็จวิธีการ
         การตรวจสภาพทาได้ในขณะที่เปิดหนังสือใหม่แต่ละเล่มดังกล่าวแล้ว อาจพบข้อบกพร่องต่าง ๆ
ที่จะต้องรีบแก้ไขทันที คือ
                    หน้าหนังสือติดกัน ให้ใช้ใบมีดคม ๆ ตัดออกให้เรียบร้อย
                    หนังสือมีใบแทรกแก้คาผิด ให้แก้คาผิดโดยตลอด อาจใช้วิธีขูดลบ
                       ขีดฆ่า แล้วเขียนหรือตัดข้อความใหม่ติดเข้าไปให้เรียบร้อย
                    หนังสือมีข้อบกพร่องด้านการพิมพ์ที่แก้ไขไม่ได้ ควรรีบส่งคืน
                        และขอเปลี่ยนเล่มใหม่
(2)
                                                 คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ

           การประทับตราหนังสือ

                               การประทับตราห้องสมุดลงในหนังสือมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบ
                        หรือสังเกตเห็นได้ชัดเจนว่าหนังสือนั้นเป็นของห้องสมุด เมื่อมีผู้พบว่าไป
                        ตกอยู่ ณ ที่ใดนอกห้องสมุดก็จะสามารถนาส่งกลับคืนห้องสมุดได้



     อุปกรณ์สาคัญที่ต้องเตรียมสาหรับประทับตรา มีดังนี้

        ตรายางชื่อห้องสมุดพร้อมที่อยู่


                                 โรงเรียนบ้านหนองโสน
                            ต.เสม็ดใต้ อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา


        ตรายางวันที่


                                      17 ธ.ค. 2553


        ตรายางข้อความอื่น ๆ ที่จะนามาใช้ประทับในหนังสือ
           (เช่น “หนังสืออ้างอิง ให้ใช้ภายในห้องสมุดเท่านั้น”)


                                      หนังสืออ้างอิง
                                ให้ใช้ภายในห้องสมุดเท่านั้น

        แป้นหมึกสีน้าเงินหรือสีแดงสาหรับประทับตราห้องสมุด และสีดาสาหรับตรา
ข้อความอื่น ๆ
(3)
                                                คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ

    การประทับตรา

      ให้ประทับตราตามตาแหน่งที่กาหนดเหมือนกันทุกเล่ม โดยทั่วไปจะกาหนดให้ประทับ
ตาแหน่งต่อไปนี้
       ปกหน้าด้านใน ประทับตราตรงกึ่งกลางหน้า
       หน้าปกใน ประทับตรงกึ่งกลางหน้า
       หน้าลับเฉพาะที่ห้องสมุดกาหนด (ควรเป็นหน้าคี่ ) ประทับที่มุมขอบขวาบน
       ด้านในปกหลัง ประทับที่กึ่งกลางชิดขอบบน
       ขอบหนังสือ ทั้ง 3 ด้าน เวลาประทับให้หันปกหน้าออกนอกตัว
       สาหรับหนังสืออ้างอิง ให้ประทับตราข้อความ
           “หนังสืออ้างอิงใช้ในห้องสมุดเท่านั้น” ด้วยหมึกสีแดงที่ใบรองปกหน้าและ
            กึ่งกลางของปกหลังด้านใน

       ข้อควรระวังในการประทับตราหนังสือ
              ต้องประทับตราให้สะอาด ตราเครื่องหมายหรือข้อความติดชัดเจน
               ควรลองประทับบนแผ่นกระดาษอื่นดูให้พอดี ไม่ติดหมึกมากหรือน้อย
               เกินไปและต้องประทับให้ตรงหรือขนานกับเส้นบรรทัด
              เพื่อให้ติดชัดและข้อความไม่ขาดหายไป ควรค่อย ๆ วางตรากดลงเบา ๆ
               ตรง ๆ ก่อนแล้วโยกมือจับตรายางไปข้างหน้า และข้างหลัง เล็กน้อย
              ต้องระวังอย่าประทับลงบนตัวอักษรหรือรูปภาพ เพราะจะทาให้อ่าน
               ข้อความไม่ได้และภาพก็จะด้อยคุณค่าไป
(4)
                                           คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ

 การลงทะเบียน


               การลงทะเบียนหนังสือ เป็นการบันทึกหลักฐานการรับหนังสือ
       แต่ละเล่มเข้าห้องสมุดตามลาดับเลขทะเบียน โดยระบุรายละเอียดของ
       หนังสือแต่ละเล่มไว้ในสมุดทะเบียนด้วย



หลักการลงทะเบียน

      แยกสมุดทะเบียนหนังสือ หนังสือภาษาไทย ภาษาอังกฤษและหนังสือ
        อื่น ๆ ที่แตกต่างจากหนังสือทั่วไปเป็นอย่างละเล่ม
      การลงทะเบียนหนังสือแต่ละเล่ม ต้องเขียนให้อยู่ในหนึ่งบรรทัด เพื่อให้
        แต่ละหน้าของสมุดทะเบียนมีจานวนเล่มหนังสือเท่ากันง่ายต่อการ
        ตรวจสอบความถูกต้องของลาดับเลขทะเบียน
      เลขทะเบียน เป็นเลขประจาตัวของหนังสือ ดังนั้นหนังสือแต่ละเล่มแม้จะเป็น
       หนังสือเรื่องเดียวกัน จะไม่มีเลขทะเบียนซ้ากันเลย เลขทะเบียนจะเรียงจากน้อย
       ไปหามากตามลาดับเล่มที่ลงก่อนหลัง คือ ฉ.๑, ๒,๓,...ดังนั้นก่อนลงทะเบียน
       ควรตรวจจัดลาดับหนังสือให้ถูกต้องเสียก่อน รวมทั้งหนังสือประเภทที่มิใช่เล่ม
       เดียวจบ เช่น ล.๑ ฉ.๑, ล.๑ ฉ.๒, และ ล.๒ ฉ,๑, ล.๒ ฉ.๒ ...เป็นต้น มิฉะนั้น
      เลขทะเบียนจะสลับสับสนกันหมด
      ต้องบันทึกสมุดทะเบียนให้เรียบร้อย สะอาดชัดเจน เพราะเป็นหลักฐาน
        สาคัญของห้องสมุด
(5)
                                                        คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ

  อุปกรณ์ในการลงทะเบียน

         สมุดทะเบียน ที่ประกอบด้วยช่องกรอกรายการต่าง ๆ 9 ช่อง คือ วันที่ลงทะเบียน เลข
ทะเบียน ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ สานักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ ราคา แหล่งที่มา และหมายเหตุ

  วันที่      เลข     ชื่อผู้แต่ง   ชื่อหนังสือ   สานักพิมพ์    ปีที่พิมพ์    ราคา     แหล่งที่มา   หมายเหตุ
ลงทะเบียน   ทะเบียน                                                          หน่วยละ




            เครื่องประทับตัวเลข
            ตรายางแบบฟอร์มกรอกรายการ (วันที่ เลขทะเบียนและเลขเรียกหนังสือ)
            ตรายางวันที่
            แป้นหมึกสีน้าเงินและสีแดง
            ปากกา ดินสอ ยางลบ

 วิธีการลงทะเบียน

         จัดหนังสือที่จะลงทะเบียนแต่ละครั้งตามลาดับชื่อผู้แต่ง ซึ่งจะทาให้หนังสือเรื่อง
เดียวกันหรือชุดเดียวกันที่มีหลายเล่มได้มีเลขทะเบียนต่อกันไปตามลาดับ
         วันเดือนปีที่ลงทะเบียน ถ้าในวันเดียวกันลงทะเบียนหนังสือหลายเล่ม ให้ลง
เฉพาะเล่มแรกของวันนั้นเท่านั้น
         ลงทะเบียนหนังสือทีละเล่ม โดยลงบรรทัดละ 1 เล่ม ถ้าเป็นหนังสือชุดหรือ
หนังสือหลายเล่มจบ ให้ลงทะเบียนของหนังสือในชุดนั้นต่อกันตามลาดับเล่มจนหมดชุด ถ้า
หนังสือเรื่องเดียวกันมีหลายฉบับ (Copy) ให้ลงทะเบียนติดต่อกันจนครบทุกเล่ม
         การลงชื่อผู้แต่งตามที่ปรากฏในหนังสือ ถ้ามีผู้แต่งเกิน 3 คน ให้ลงชื่อผู้แต่งคน
แรกตามด้วยคาว่า และคนอื่น ๆ ถ้าเป็นภาษาอังกฤษให้ลงคาว่า and others ถ้าไม่มีชื่อผู้
แต่งให้เว้นว่างไว้ไม่ต้องลงรายการ
         ลงชื่อหนังสือตามที่ปรากฏที่หน้าปกในของหนังสือ ถ้าเป็นหนังสือชุดให้ลง ล.1
, ล.2 , ล.3,…(หมายถึง เล่ม 1, เล่ม 2, เล่ม 3, …) ท้ายชื่อหนังสือสาหรับหนังสือ
ภาษาไทย ส่วนหนังสือภาษาอังกฤษให้ใช้ V.1, V.2, V.3,…(V คือ Volume) ถ้าหนังสือชื่อ
(6)
                                                คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ
เรื่องเดียวกันและผู้แต่งคนเดียวกันมีหลายฉบับให้ใส่ ฉ.1, ฉ.2, ฉ.3,…หรือ C.1, C.2,
C.3,…(สาหรับหนังสือภาษาอังกฤษ) ท้ายชื่อหนังสือ (ฉ หรือ C หมายถึง ฉบับ หรือ Copy)
           ชื่อสานักพิมพ์ที่จัดพิมพ์ ในกรณีที่ไม่มีสานักพิมพ์ให้ลงชื่อโรงพิมพ์ หรือชื่อ
ผู้รับผิดชอบในการจัดพิมพ์ ซึ่งอาจจะเป็นกระทรวง ทบวง กรม ฯลฯ แทน ถ้าไม่ปรากฎ
สถานที่พิมพ์ให้ลงว่า ม.ป.ท. หรือ n.p. (ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ หรือ no place)
           ปี พ.ศ. ที่จัดพิมพ์หนังสือ ถ้าหากมีการจัดพิมพ์หลายครั้งให้ลงปีที่พิมพ์ครั้ง
หลังสุด ถ้าไม่ปรากฎปีที่พิมพ์ให้ลงว่า ม.ป.ป. หรือ n.d. (ไม่ปรากฎปีที่พิมพ์หรือ no date)
           ราคาหนังสือ ลงตามที่ปรากฏในหนังสือ เพราะถ้าหนังสือชารุดสูญหายจะได้
เรียกเงินชดใช้จากผู้ทาหายได้ถูกต้อง ในกรณีที่ราคาเป็นชุดให้ลงราคาทั้งชุดไว้ในเล่มแรก
           แหล่งที่มา ในกรณีที่เป็นหนังสือบริจาคให้ลงชื่อผู้บริจาคในช่องนี้ แต่ถ้าหาก
ได้มาโดยการจัดซื้อก็ไม่ต้องระบุไว้
           หมายเหตุมีไว้สาหรับเขียนเลขแสดงจานวนหนังสือในชุด หรือหนังสือชารุดได้
จาหน่ายออกจากทะเบียนห้องสมุดแล้ว
(7)
                                               คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ

 การลงรายละเอียดในเล่มหนังสือ


          การประทับเลขทะเบียนลงในเล่มหนังสือในตาแหน่งที่กาหนด คือ หน้าชื่อเรื่อง,
หน้าลิขสิทธิ์, หน้าลับ (หน้าที่ 23), และหน้าสุดท้ายของเนื้อหา การประทับเลขทะเบียนต้อง
ระวังให้เลขตรงกันทั้งหมดทั้งในสมุดทะเบียนและในทุกตาแหน่งที่เล่มหนังสือ
          การลงรายละเอียดอื่น ๆ
                 วันที่ลงทะเบียน ลงไว้ในหน้าลิขสิทธิ์ในแบบฟอร์มตรายาง และที่
หน้าลับเฉพาะใต้เลขทะเบียน
                 เลขเรียกหนังสือ เขียน/พิมพ์ ติดที่ตาแหน่งต่าง ๆ ที่ตัวเล่มที่
ห้องสมุดกาหนด ดังนี้
                         มุมล่างด้านซ้าย (ที่ปก)
                         สันหนังสือด้านล่าง (ห่างจากด้านล่าง 2.5-3 นิ้ว.)
                         หน้าชื่อเรื่อง (ชิดขอบด้านซ้าย)
                         หน้าลับ (ชิดขอบด้านซ้าย, หน้าที่ 23)
                         หน้าสุดท้ายของเนื้อหา (ชิดขอบด้านซ้าย)
(8)
                                           คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ


                              บรรณานุกรม
ไพบูลย์ ตรีน้อยวา. (2542). งานเทคนิคของห้องสมุด : Technical services of
       library. สงขลา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏสงขลา.
วัลลภ สวัสดิวัลลภ. (2527). คู่มืองานเทคนิคและการฝึกงานห้องสมุด . ลพบุรี :
 ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ วิทยาลัยครูเทพสตรี.
(9)
                                               คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ




     คู่มือการจัดเตรียมหนังสือ
ที่ปรึกษา :
       นายเมธี พรมศิลา ผู้อานวยการ
นายไพรสิทธิ์ ศรีสุทธิเกิดพร รองผู้อานวยการ
นางสุรัตน์ สุทธกุล รองผู้อานวยการ


ผู้เรียบเรียง : วาสนา เทียนกุล
ออกแบบ        : วัชรี ปั้นนิยม
                         สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
                       มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
                       422 ถ.มรุพงษ์ ต.หน้าเมือง อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา 24000
                       โทร., โทรสาร 0 3851 7013
(10)
                                                   คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ




                                                 คำนำ
                        สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ราชนครินทร์ เป็นหน่วยงานสนับสนุนวิชาการ ทาหน้าที่ จัดหา รวบรวม อนุรักษ์และบารุงรักษา
และเผยแพร่หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ โสตทัศน์วัสดุ ทรัพยากรสารสนเทศต่างๆ ตลอดจน
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และนาข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการเรียนการสอน และ
การค้นคว้าวิจัยของมหาวิทยาลัย
คู่มืองานเทคนิคของห้องสมุดเล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นคู่มือสาหรับครูบรรณารักษ์ และ
นักเรียนหรือรายงานห้องสมุด
ขอขอบคุณท่านเจ้าของหนังสือทุกท่านที่ข้าพเจ้านามาอ้างอิง และขอขอบพระคุณ                 “ครู
หม่อง” ที่จัดทารูปเล่ม เอกสารนี้ที่จัดทาขึ้นเพื่อประโยชน์ต่อการดาเนินงานห้องสมุดโรงเรียน และ
ขอยกความดีให้ครู อาจารย์ผู้ประสิทธิประสาทวิชาให้
      ด้วยความเคารพอย่างสูง
        วาสนา เทียนกุล

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการ
krujee
 
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือแบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
Supaporn Khiewwan
 
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
Hikaru Sai
 
โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)
009kkk
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
kanjana2536
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
kruminsana
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
guychaipk
 
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาการเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
krujee
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
krujee
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
teerachon
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ทับทิม เจริญตา
 

La actualidad más candente (20)

แผนการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้ที่ 1แผนการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้ที่ 1
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
 
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Pptเลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการ
 
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือแบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
 
แบบฝึกทักษะ โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา (5).pdf
แบบฝึกทักษะ โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา (5).pdfแบบฝึกทักษะ โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา (5).pdf
แบบฝึกทักษะ โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา (5).pdf
 
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
 
โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
G14 เรื่อง วารสาร นิตยสาร
G14 เรื่อง วารสาร นิตยสารG14 เรื่อง วารสาร นิตยสาร
G14 เรื่อง วารสาร นิตยสาร
 
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาการเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 

Similar a จัดเตรียมหนังสือ

บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
keatsunee.b
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
sawitri555
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
sawitri555
 
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
nonny_taneo
 

Similar a จัดเตรียมหนังสือ (20)

book531
book531book531
book531
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
 
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
 
20101210 doc-create-howto
20101210 doc-create-howto20101210 doc-create-howto
20101210 doc-create-howto
 
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
 
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 

จัดเตรียมหนังสือ

  • 1. (1) คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ การจัดเตรียมหนังสือ หนังสือเป็นสารนิเทศที่ห้องสมุดทั่วไปจัดหามา เพื่อให้บริการมากกว่าวัสดุ สารนิเทศประเภทอื่น แต่ก่อนที่จะนาหนังสือออกให้บริการ ห้องสมุดจะต้อง ดาเนินการจัดเตรียมหนังสือแต่ละเล่มหรือแต่ละประเภทให้อยู่ในระบบที่ ถูกต้องเรียบร้อยเสียก่อน ทั้งนี้เพื่อให้พร้อมและสะดวกต่อการให้บริการ การจัดเตรียมหนังสือขั้นต้น การจัดเตรียมหนังสือขั้นต้น ได้แก่ การเปิดหนังสือใหม่และการ ตรวจสภาพหนังสือ การประทับตราห้องสมุด และการลงทะเบียน การเปิดหนังสือใหม่และการตรวจสภาพหนังสือ การเปิดหนังสือใหม่ เป็นการช่วยให้ด้ายเย็บหนังสือคลายออกหรือยืดออก ทาให้หนังสือใหม่ที่ เปิดอ่านไม่พลิกกลับ การเปิดหนังสือใหม่ให้ปฏิบัติดังนี้คือ  ตั้งสันหนังสือกับพื้นราบแล้วเปิดปกหน้าและปกหลังกดลงไปให้ราบกับพื้น  เปิดหน้าหนังสือจากปกด้านหน้าประมาณ 8-10 หน้า ใช้นิ้วกดรีดเบา ๆ ที่ขอบสันจาก ด้านบนลงด้านล่าง  เปิดหน้าหนังสือจากปกด้านหลังประมาณ 8-10 หน้า ใช้นิ้วกดรีดเบา ๆ ที่ขอบสันจาก ด้านบนลงด้านล่าง  ทาตาม ข้อ 2 และ 3 สลับกันจนบรรจบกันที่กลางเล่ม (จานวนหน้าที่เปิดออกทั้งด้านซ้าย และขวาจะมีประมาณเท่า ๆ กัน) เป็นอันเสร็จวิธีการ การตรวจสภาพทาได้ในขณะที่เปิดหนังสือใหม่แต่ละเล่มดังกล่าวแล้ว อาจพบข้อบกพร่องต่าง ๆ ที่จะต้องรีบแก้ไขทันที คือ  หน้าหนังสือติดกัน ให้ใช้ใบมีดคม ๆ ตัดออกให้เรียบร้อย  หนังสือมีใบแทรกแก้คาผิด ให้แก้คาผิดโดยตลอด อาจใช้วิธีขูดลบ ขีดฆ่า แล้วเขียนหรือตัดข้อความใหม่ติดเข้าไปให้เรียบร้อย  หนังสือมีข้อบกพร่องด้านการพิมพ์ที่แก้ไขไม่ได้ ควรรีบส่งคืน และขอเปลี่ยนเล่มใหม่
  • 2. (2) คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ การประทับตราหนังสือ การประทับตราห้องสมุดลงในหนังสือมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบ หรือสังเกตเห็นได้ชัดเจนว่าหนังสือนั้นเป็นของห้องสมุด เมื่อมีผู้พบว่าไป ตกอยู่ ณ ที่ใดนอกห้องสมุดก็จะสามารถนาส่งกลับคืนห้องสมุดได้ อุปกรณ์สาคัญที่ต้องเตรียมสาหรับประทับตรา มีดังนี้  ตรายางชื่อห้องสมุดพร้อมที่อยู่ โรงเรียนบ้านหนองโสน ต.เสม็ดใต้ อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา  ตรายางวันที่ 17 ธ.ค. 2553  ตรายางข้อความอื่น ๆ ที่จะนามาใช้ประทับในหนังสือ (เช่น “หนังสืออ้างอิง ให้ใช้ภายในห้องสมุดเท่านั้น”) หนังสืออ้างอิง ให้ใช้ภายในห้องสมุดเท่านั้น  แป้นหมึกสีน้าเงินหรือสีแดงสาหรับประทับตราห้องสมุด และสีดาสาหรับตรา ข้อความอื่น ๆ
  • 3. (3) คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ การประทับตรา ให้ประทับตราตามตาแหน่งที่กาหนดเหมือนกันทุกเล่ม โดยทั่วไปจะกาหนดให้ประทับ ตาแหน่งต่อไปนี้  ปกหน้าด้านใน ประทับตราตรงกึ่งกลางหน้า  หน้าปกใน ประทับตรงกึ่งกลางหน้า  หน้าลับเฉพาะที่ห้องสมุดกาหนด (ควรเป็นหน้าคี่ ) ประทับที่มุมขอบขวาบน  ด้านในปกหลัง ประทับที่กึ่งกลางชิดขอบบน  ขอบหนังสือ ทั้ง 3 ด้าน เวลาประทับให้หันปกหน้าออกนอกตัว  สาหรับหนังสืออ้างอิง ให้ประทับตราข้อความ “หนังสืออ้างอิงใช้ในห้องสมุดเท่านั้น” ด้วยหมึกสีแดงที่ใบรองปกหน้าและ กึ่งกลางของปกหลังด้านใน ข้อควรระวังในการประทับตราหนังสือ  ต้องประทับตราให้สะอาด ตราเครื่องหมายหรือข้อความติดชัดเจน ควรลองประทับบนแผ่นกระดาษอื่นดูให้พอดี ไม่ติดหมึกมากหรือน้อย เกินไปและต้องประทับให้ตรงหรือขนานกับเส้นบรรทัด  เพื่อให้ติดชัดและข้อความไม่ขาดหายไป ควรค่อย ๆ วางตรากดลงเบา ๆ ตรง ๆ ก่อนแล้วโยกมือจับตรายางไปข้างหน้า และข้างหลัง เล็กน้อย  ต้องระวังอย่าประทับลงบนตัวอักษรหรือรูปภาพ เพราะจะทาให้อ่าน ข้อความไม่ได้และภาพก็จะด้อยคุณค่าไป
  • 4. (4) คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ การลงทะเบียน การลงทะเบียนหนังสือ เป็นการบันทึกหลักฐานการรับหนังสือ แต่ละเล่มเข้าห้องสมุดตามลาดับเลขทะเบียน โดยระบุรายละเอียดของ หนังสือแต่ละเล่มไว้ในสมุดทะเบียนด้วย หลักการลงทะเบียน  แยกสมุดทะเบียนหนังสือ หนังสือภาษาไทย ภาษาอังกฤษและหนังสือ อื่น ๆ ที่แตกต่างจากหนังสือทั่วไปเป็นอย่างละเล่ม  การลงทะเบียนหนังสือแต่ละเล่ม ต้องเขียนให้อยู่ในหนึ่งบรรทัด เพื่อให้ แต่ละหน้าของสมุดทะเบียนมีจานวนเล่มหนังสือเท่ากันง่ายต่อการ ตรวจสอบความถูกต้องของลาดับเลขทะเบียน  เลขทะเบียน เป็นเลขประจาตัวของหนังสือ ดังนั้นหนังสือแต่ละเล่มแม้จะเป็น หนังสือเรื่องเดียวกัน จะไม่มีเลขทะเบียนซ้ากันเลย เลขทะเบียนจะเรียงจากน้อย ไปหามากตามลาดับเล่มที่ลงก่อนหลัง คือ ฉ.๑, ๒,๓,...ดังนั้นก่อนลงทะเบียน ควรตรวจจัดลาดับหนังสือให้ถูกต้องเสียก่อน รวมทั้งหนังสือประเภทที่มิใช่เล่ม เดียวจบ เช่น ล.๑ ฉ.๑, ล.๑ ฉ.๒, และ ล.๒ ฉ,๑, ล.๒ ฉ.๒ ...เป็นต้น มิฉะนั้น เลขทะเบียนจะสลับสับสนกันหมด  ต้องบันทึกสมุดทะเบียนให้เรียบร้อย สะอาดชัดเจน เพราะเป็นหลักฐาน สาคัญของห้องสมุด
  • 5. (5) คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ อุปกรณ์ในการลงทะเบียน  สมุดทะเบียน ที่ประกอบด้วยช่องกรอกรายการต่าง ๆ 9 ช่อง คือ วันที่ลงทะเบียน เลข ทะเบียน ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ สานักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ ราคา แหล่งที่มา และหมายเหตุ วันที่ เลข ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ สานักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ ราคา แหล่งที่มา หมายเหตุ ลงทะเบียน ทะเบียน หน่วยละ  เครื่องประทับตัวเลข  ตรายางแบบฟอร์มกรอกรายการ (วันที่ เลขทะเบียนและเลขเรียกหนังสือ)  ตรายางวันที่  แป้นหมึกสีน้าเงินและสีแดง  ปากกา ดินสอ ยางลบ วิธีการลงทะเบียน  จัดหนังสือที่จะลงทะเบียนแต่ละครั้งตามลาดับชื่อผู้แต่ง ซึ่งจะทาให้หนังสือเรื่อง เดียวกันหรือชุดเดียวกันที่มีหลายเล่มได้มีเลขทะเบียนต่อกันไปตามลาดับ  วันเดือนปีที่ลงทะเบียน ถ้าในวันเดียวกันลงทะเบียนหนังสือหลายเล่ม ให้ลง เฉพาะเล่มแรกของวันนั้นเท่านั้น  ลงทะเบียนหนังสือทีละเล่ม โดยลงบรรทัดละ 1 เล่ม ถ้าเป็นหนังสือชุดหรือ หนังสือหลายเล่มจบ ให้ลงทะเบียนของหนังสือในชุดนั้นต่อกันตามลาดับเล่มจนหมดชุด ถ้า หนังสือเรื่องเดียวกันมีหลายฉบับ (Copy) ให้ลงทะเบียนติดต่อกันจนครบทุกเล่ม  การลงชื่อผู้แต่งตามที่ปรากฏในหนังสือ ถ้ามีผู้แต่งเกิน 3 คน ให้ลงชื่อผู้แต่งคน แรกตามด้วยคาว่า และคนอื่น ๆ ถ้าเป็นภาษาอังกฤษให้ลงคาว่า and others ถ้าไม่มีชื่อผู้ แต่งให้เว้นว่างไว้ไม่ต้องลงรายการ  ลงชื่อหนังสือตามที่ปรากฏที่หน้าปกในของหนังสือ ถ้าเป็นหนังสือชุดให้ลง ล.1 , ล.2 , ล.3,…(หมายถึง เล่ม 1, เล่ม 2, เล่ม 3, …) ท้ายชื่อหนังสือสาหรับหนังสือ ภาษาไทย ส่วนหนังสือภาษาอังกฤษให้ใช้ V.1, V.2, V.3,…(V คือ Volume) ถ้าหนังสือชื่อ
  • 6. (6) คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ เรื่องเดียวกันและผู้แต่งคนเดียวกันมีหลายฉบับให้ใส่ ฉ.1, ฉ.2, ฉ.3,…หรือ C.1, C.2, C.3,…(สาหรับหนังสือภาษาอังกฤษ) ท้ายชื่อหนังสือ (ฉ หรือ C หมายถึง ฉบับ หรือ Copy)  ชื่อสานักพิมพ์ที่จัดพิมพ์ ในกรณีที่ไม่มีสานักพิมพ์ให้ลงชื่อโรงพิมพ์ หรือชื่อ ผู้รับผิดชอบในการจัดพิมพ์ ซึ่งอาจจะเป็นกระทรวง ทบวง กรม ฯลฯ แทน ถ้าไม่ปรากฎ สถานที่พิมพ์ให้ลงว่า ม.ป.ท. หรือ n.p. (ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ หรือ no place)  ปี พ.ศ. ที่จัดพิมพ์หนังสือ ถ้าหากมีการจัดพิมพ์หลายครั้งให้ลงปีที่พิมพ์ครั้ง หลังสุด ถ้าไม่ปรากฎปีที่พิมพ์ให้ลงว่า ม.ป.ป. หรือ n.d. (ไม่ปรากฎปีที่พิมพ์หรือ no date)  ราคาหนังสือ ลงตามที่ปรากฏในหนังสือ เพราะถ้าหนังสือชารุดสูญหายจะได้ เรียกเงินชดใช้จากผู้ทาหายได้ถูกต้อง ในกรณีที่ราคาเป็นชุดให้ลงราคาทั้งชุดไว้ในเล่มแรก  แหล่งที่มา ในกรณีที่เป็นหนังสือบริจาคให้ลงชื่อผู้บริจาคในช่องนี้ แต่ถ้าหาก ได้มาโดยการจัดซื้อก็ไม่ต้องระบุไว้  หมายเหตุมีไว้สาหรับเขียนเลขแสดงจานวนหนังสือในชุด หรือหนังสือชารุดได้ จาหน่ายออกจากทะเบียนห้องสมุดแล้ว
  • 7. (7) คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ การลงรายละเอียดในเล่มหนังสือ  การประทับเลขทะเบียนลงในเล่มหนังสือในตาแหน่งที่กาหนด คือ หน้าชื่อเรื่อง, หน้าลิขสิทธิ์, หน้าลับ (หน้าที่ 23), และหน้าสุดท้ายของเนื้อหา การประทับเลขทะเบียนต้อง ระวังให้เลขตรงกันทั้งหมดทั้งในสมุดทะเบียนและในทุกตาแหน่งที่เล่มหนังสือ  การลงรายละเอียดอื่น ๆ  วันที่ลงทะเบียน ลงไว้ในหน้าลิขสิทธิ์ในแบบฟอร์มตรายาง และที่ หน้าลับเฉพาะใต้เลขทะเบียน  เลขเรียกหนังสือ เขียน/พิมพ์ ติดที่ตาแหน่งต่าง ๆ ที่ตัวเล่มที่ ห้องสมุดกาหนด ดังนี้  มุมล่างด้านซ้าย (ที่ปก)  สันหนังสือด้านล่าง (ห่างจากด้านล่าง 2.5-3 นิ้ว.)  หน้าชื่อเรื่อง (ชิดขอบด้านซ้าย)  หน้าลับ (ชิดขอบด้านซ้าย, หน้าที่ 23)  หน้าสุดท้ายของเนื้อหา (ชิดขอบด้านซ้าย)
  • 8. (8) คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ บรรณานุกรม ไพบูลย์ ตรีน้อยวา. (2542). งานเทคนิคของห้องสมุด : Technical services of library. สงขลา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏสงขลา. วัลลภ สวัสดิวัลลภ. (2527). คู่มืองานเทคนิคและการฝึกงานห้องสมุด . ลพบุรี : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ วิทยาลัยครูเทพสตรี.
  • 9. (9) คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ คู่มือการจัดเตรียมหนังสือ ที่ปรึกษา : นายเมธี พรมศิลา ผู้อานวยการ นายไพรสิทธิ์ ศรีสุทธิเกิดพร รองผู้อานวยการ นางสุรัตน์ สุทธกุล รองผู้อานวยการ ผู้เรียบเรียง : วาสนา เทียนกุล ออกแบบ : วัชรี ปั้นนิยม สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ 422 ถ.มรุพงษ์ ต.หน้าเมือง อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา 24000 โทร., โทรสาร 0 3851 7013
  • 10. (10) คู่มิอการจัดเตรียมหนังสือ คำนำ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ราชนครินทร์ เป็นหน่วยงานสนับสนุนวิชาการ ทาหน้าที่ จัดหา รวบรวม อนุรักษ์และบารุงรักษา และเผยแพร่หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ โสตทัศน์วัสดุ ทรัพยากรสารสนเทศต่างๆ ตลอดจน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และนาข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการเรียนการสอน และ การค้นคว้าวิจัยของมหาวิทยาลัย คู่มืองานเทคนิคของห้องสมุดเล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นคู่มือสาหรับครูบรรณารักษ์ และ นักเรียนหรือรายงานห้องสมุด ขอขอบคุณท่านเจ้าของหนังสือทุกท่านที่ข้าพเจ้านามาอ้างอิง และขอขอบพระคุณ “ครู หม่อง” ที่จัดทารูปเล่ม เอกสารนี้ที่จัดทาขึ้นเพื่อประโยชน์ต่อการดาเนินงานห้องสมุดโรงเรียน และ ขอยกความดีให้ครู อาจารย์ผู้ประสิทธิประสาทวิชาให้ ด้วยความเคารพอย่างสูง วาสนา เทียนกุล