SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 2
ประเภทของภาพ Graphic
ประเภทของกราฟิกส์
     การสร้างภาพกราฟิกด้วยคอมพิวเตอร์ มีวิธีการสร้าง 2 แบบ คือ แบบบิตแมพ (Bit
     Mapped) และแบบเวกเตอร์ (Vector) หรือสโตรก (Stroked) แต่ละแบบวิธีการรสร้างภาพดัง
     ต่อไปนี้
Bitmap
         กราฟิกแบบบิตแมปความหมายที่ค่อนข้างจะตรงไปตรงมา คือ มีลักษณะเป็นช่องๆ
         เหมือนตาราง แต่ละบิตก็คือส่วนหนึ่งของข้อมูลคอมพิวเตอร์ (ซึ่งก็คือสวิตซ์ปิดเปิดใน
         หน่วยความจำา "1" หมายถึงเปิด และ "0" หมายถึงปิด) และสวิตซ์ปิดเปิดนี้ก็ยังหมายถึงสี
         ดำาและสีขาวอีกด้วย ดังนั้น ถ้าเราเอาบิตที่แตกต่างกันในแต่ละตารางมารวมกันเข้า เรา
         จะสามารถสร้างภาพจากจุดดำาและขาวเหล่านี้ได้ กราฟิกแบบบิตแมปทุกชนิดมี
         ลักษณะที่เหมือนกันอยู่บางประการ ถ้าทำาความเข้าใจส่วนต่างๆ เหล่านี้ เราสามารถที่
         จะหลีกเลี่ยงหรือป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้
         Pixel คื อ อะไร
         พิกเซล (เป็นคำาที่ใช้แทนองค์ประกอบของภาพ) เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของภา
         พบิตแมป ซึ่งองค์ประกอบย่อยๆ เหล่านี้ถูกรวมกันเข้าทำาให้เกิดภาพ เราคงคุ้นเคยกับ
         การที่ส่วนประกอบย่อยๆ มารวมกันเพื่อประกอบเป็นรายการสิ่งของต่างๆ เป็นต้นว่า
         เอาแต่ละชิ้นของบล็อกกระจกมาประกอบกันเป็นหน้าต่าง แต่ละเข็มของการเย็บปักถัก
         ร้อยประกอบกันกลายเป็นผลงานทางด้านเย็บปักถักร้อย 1 ชิ้น หรือแต่ละจุดของโลหะ
         เงินประกอบกันเป็นรูปภาพ 1 รูป นั้นคือองค์ประกอบอาจจะเป็นแก้วชิ้นใหญ่บน
         หน้าต่าง หรือจุดโลหะเงินเล็กๆ บนแผ่นฟิล์มก็ได้ โดยแต่ละชิ้นเป็นองค์ประกอบที่แยก
         จากกัน เปรียบเทียบได้กับพิกเซลซึ่งถือเป็นหน่วยย่อยที่เล็กที่สุดของรูปภาพ พิกเซลมี
         ความสำาคัญต่อการสร้างกราฟิกของคอมพิวเตอร์มาก เพราะทุกๆ ส่วนของกราฟิก เช่น
         จุด เส้น แบบลายและสีของภาพ ล้วนเริ่มจากพิกเซลทั้งสิ้น พิกเซลหนึ่งๆ อาจจะมีขนาด
         ความเข้มและสีแตกต่างกันได้ ในโลกแห่งดิจตอลของรูปภาพคอมพิวเตอร์ พิกเซล ได้
                                                      ิ
         ถูกใช้สำาหรับสิ่งต่างๆ เป็นต้นว่าจุดแต่ละจุดบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ จุดแสดงความ
         ละเอียดของเครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ หรืออุปกรณ์แสดงผลประเภทกราฟิกอื่นๆ ของ
         ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งบางครั้งอาจทำาให้เราสับสนได้เพื่อให้เกิดความชัดเจน ขอให้คำา
         จำากัดความดังต่อไปนี้ พิกเซล หมายถึง องค์ประกอบย่อยในไฟล์กราฟิกแบบบิตแมป
         วิดีโอพิกเซล หมายถึง องค์ประกอบย่อยของภาพในหน้าจอคอมพิวเตอร์ จุดหรือดอต
         หมายถึง ความละเอียดของภาพที่พิมพ์โดยเครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์
         เอสเป็ ก เรโซของภาพ (Image Aspect Ratio)
         แอสเป็กเรโชของภาพ คือ อัตราส่วนระหว่างจำานวนพิกเซลทางแนวขวาง และจำานวน
         พิกเซลทางแนวดิ่งที่ใช้ในการสร้างภาพ หากจะยกตัวอย่างเปรียบเทียบกับกระดาษ
         กราฟ จะเห็นได้ว่าภาพบิตแมปใดๆ ก็ตามจะมีจำานวนพิกเซลคงที่ในมิติแนวขวางและ
         แนวดิ่ง ซึ่งอัตราส่วนมีไว้อ้างถึงขนาดของภาพและมักจะเขียนในรูปของ 800 x 600 (ซี่ง
         หมายถึงรูปภาพที่มี 800 พิกเซลในแนวขวาง และ 600 บรรทัดของพิกเซลในแนวดิ่ง)
         เราสามารถคำานวณหาจำานวนพิกเซลทั้งหมดในรูปภาพได้โดยการคูณตัวเลขทั้งสองนี้
         เข้าด้วยกัน นั่นคือรูปภาพที่มีแอสเป็กเรโช 800 x 600 จะมีทั้งหมด 480,000 พิกเซล ซึ่ง
         จำานวนดังกล่าวไม่ได้หมายถึงขนาดของไฟล์ของภาพนั้นๆ
         รี โ ซลู ช ั น (Resolution)
รี โซลูชัน (Resolution) หมายถึง รายละเอียดที่อุปกรณ์แสดงกราฟิกชนิดหนึ่งมีอยู่ ค่ารี
         โซลูชันมักระบุเป็นจำานวนพิกเซลในแนวนอนคือแนวแกน X และจำานวนพิกเซลใน
         แนวตั้งคือแนวแกน Y ดังนั้นรีโซลูชัน 720 x 348 จึงหมายความว่า อุปกรณ์แสดงกราฟิก
         ชนิดนี้สามารถแสดงพิเซลในแนวนอนได้ไม่เกิน 720 พิกเซล และแสดงพิกเซลในแนว
         ตังได้ไม่เกิน 348 พิกเซล ผู้ผลิตอุปกรณ์แสดงกราฟิกบางรายจะระบุค่ารีโซลูชันเป็น
           ้
         ระดับสูง (High Resolution) ปานกลาง (Medium Resolution) และระดับตำ่า (Low Resolution)
         โดยพิจารณาจากจำานวนพิกเซลในแนวนอนเพียงอย่างเดียว ซึ่งมีหลักว่า ถ้าค่าน้อย
         กว่า 128 เป็นระดับตำ่า ค่าระหว่าง 128 ถึง 512 เป็นระดับกลาง ค่าสูงกว่า 512 เป็นระดับสูง
         สำาหรับจอภาพขนาดปกติ ถ้ามีค่ารีโซลูชันมากกว่า 1500 ตาจะมองไม่เห็นแต่ละพิกเซล
         คือจะมองเห็นเป็นภาพที่มีความละเอียดคมชัดสูงมาก คอมพิวเตอร์กราฟิกที่ใช้กับฟิล์ม
         ถ่ายรูปในระดับมืออาชีพจะต้องใช้ค่ารีโซลู ชันสูงถึง 3000
Vector
      กราฟิก แบบเวกเตอร์ต่างจากบิตแมปตรงที่บิตแมปนั้นประกอบไปด้วย จุดต่างๆ
      มากมาย แต่กราฟิกแบบเวกเตอร์ใช้สมการ ทางคณิตศาสตร์เป็นตัวสร้างภาพ เช่น
      วงกลม หรือเส้นตรง เป็นต้น ถึงแม้ว่าอาจจะฟังดูซับซ้อนสักเล็กน้อยแต่ภาพบางชนิดก็
      ถูกสร้างได้ง่าย หลักที่จะนำาไปสู่กราฟิกแบบเวกเตอร์ก็คือ การรวมเอาคำาสั่งทาง
      คอมพิวเตอร์และสูตรทางคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายเกี่ยวกับออ บเจ็กต์ ซึ่งจะปล่อยให้
      อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เช่น จอภาพ หรือเครื่องพิมพ์เป็นตัวกำาหนดเองว่าจะวางจุดจริงๆ
      ไว้ที่ตำาแหน่งใดในการสร้างภาพ คุณลักษณะเด่นเหล่านี้ทำาให้กราฟิกแบบเวกเตอร์มี
      ข้อได้เปรียบ และข้อเสียเปรียบมากมายกับกราฟิกแบบบิตแมป
ออบเจ็กต์ (Object)
      ออบเจ็กต์ง่ายๆ (เช่น วงกลม เส้นตรง ทรงกลม ลูกบาศก์ และอื่นๆ เรียกว่ารูปทรงพื้น
      ฐาน) สามารถใช้ในการสร้างออบเจ็กต์ที่ซับซ้อนขึ้น กราฟิกแบบเวกเตอร์สามารถ
      สร้างรูปภาพโดยการรวมเอาออบเจ็กต์หลายๆ ชนิดมาผสมกันเราสามารถผสมออบ
      เจ็กต์ต่างชนิดกัน (เช่น วงกลมและเส้นตรง) เพื่อสร้างภาพที่แตกต่างกัน กราฟิกแบบ
      เวกเตอร์ใช้คำาสั่งง่ายๆ เพื่อสร้างออบเจ็กต์พื้นฐาน ถ้าเขียนเป็นภาษาคำาพูดแบบ
      ธรรมดา คำาสั่งอาจจะอ่านได้ว่า "ลากเส้นตรงจากจุด A ไปยังจุด B" หรือ "ลากวงกลม
      รัศมี R โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด P"
เปรียบเทียบ Bitmap VS Vector
      กราฟิกแบบบิตแมป สามารถแสดงให้เห็นที่จอภาพได้เร็วกว่าภาพแบบเวกเตอร์ เช่น
      การแสดงภาพแบบบิตแมปขนาด 1000 ไบต์ จะทำาโดยการใช้คำาสั่งย้ายข้อมูลขนาด
      1000 ไบต์ จากหน่วยความจำาที่เก็บภาพไปยังหน่วยความจำาของจอภาพ (คือ Video
      Display Buffer) ภาพนั้นก็จะปรากฎบนจอภาพทันที การแสดงภาพแบบเวกเตอร์
      คอมพิวเตอร์จะใช้เวลามากกว่า เนื่องจากคอมพิวเตอร์ต้อง ทำาตามคำาสั่งที่มีจำานวน
      มากกว่า
      การเปลี่ยนแปลงขนาดภาพให้โตขึ้นหรือเล็กลงกว่าภาพเดิม กรณีภาพแบบบิตแมปจะ
      ทำาได้ไม่มาก นอกจากนั้นยังอาจจะทำาให้ลักษณะ ของภาพผิดเพี้ยนไปจากเดิมด้วย
      เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงขนาดภาพทำาโดยวิธีการเพิ่มหรือลดพิกเซลจากที่มีอยู่ เดิม
      ภาพที่ขยายโต ขึนจะมองเห็นเป็นตารางสี่เหลี่ยมเรียงต่อกัน ทำาให้ขาดความสวยงาม
                        ้
      แต่ภาพแบบเวกเตอร์จะสามารถย่อและขยายขนาดได้มากกว่า โดยสัดส่วนและ
      ลักษณะของภาพยังคล้ายเดิม ยิ่งกว่านั้นเราสามารถขยายเฉพาะความกว้างหรือความ
      สูง เพื่อให้มองเห็นเป็นภาพ ผอมหรืออ้วนกว่าภาพเดิมได้ด้วย

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ใบงานที่7
ใบงานที่7ใบงานที่7
ใบงานที่7
juice1414
 
Adobe indesign
Adobe indesignAdobe indesign
Adobe indesign
krujew
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
Nimanong Nim
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
primpatcha
 
สื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิกสื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิก
vorravan
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
คีตะบลู รักคำภีร์
 

La actualidad más candente (16)

ใบงานที่7
ใบงานที่7ใบงานที่7
ใบงานที่7
 
3 d printer
3 d printer3 d printer
3 d printer
 
Adobe indesign
Adobe indesignAdobe indesign
Adobe indesign
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
 
1.1
1.11.1
1.1
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
01 intro computergraphic
01 intro computergraphic01 intro computergraphic
01 intro computergraphic
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
 
สื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิกสื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิก
 
แอนิเมชัน 3มิติ เรื่อง ลูกหมูสามตัว Animation 3D movies Three Little Pigs
แอนิเมชัน 3มิติ เรื่อง ลูกหมูสามตัวAnimation 3D movies Three Little Pigsแอนิเมชัน 3มิติ เรื่อง ลูกหมูสามตัวAnimation 3D movies Three Little Pigs
แอนิเมชัน 3มิติ เรื่อง ลูกหมูสามตัว Animation 3D movies Three Little Pigs
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1
 
sample plot 3D form depth map using OpenCV
sample plot 3D form depth map using OpenCVsample plot 3D form depth map using OpenCV
sample plot 3D form depth map using OpenCV
 
Unit 4
Unit 4Unit 4
Unit 4
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
 
คู่มือการใช้ Illustrator cs6
คู่มือการใช้ Illustrator cs6คู่มือการใช้ Illustrator cs6
คู่มือการใช้ Illustrator cs6
 

Similar a ประเภทของภาพกราฟฟิค

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
jibbie23
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
jibbie23
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
jibbie23
 
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
wichuda hokaew
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
vorravan
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
วาสนา ใจสุยะ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
arachaporn
 
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (Computer graphics)
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (Computer graphics)คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (Computer graphics)
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (Computer graphics)
kru na Swkj
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7
Winwin Nim
 
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1
teaw-sirinapa
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
school
 
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
วาสนา ใจสุยะ
 

Similar a ประเภทของภาพกราฟฟิค (20)

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1
การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1
การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
Storyboard
StoryboardStoryboard
Storyboard
 
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
 
Introduction to Images Digitization
Introduction to Images DigitizationIntroduction to Images Digitization
Introduction to Images Digitization
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
 
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (Computer graphics)
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (Computer graphics)คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (Computer graphics)
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ (Computer graphics)
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7
 
Work 5555
Work 5555Work 5555
Work 5555
 
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 

Más de wattikorn_080

การทำภาพโดยใช้ Filter
การทำภาพโดยใช้ Filterการทำภาพโดยใช้ Filter
การทำภาพโดยใช้ Filter
wattikorn_080
 
การบันทึกข้อมูลลงบนไฟล์ (Save)
การบันทึกข้อมูลลงบนไฟล์ (Save)การบันทึกข้อมูลลงบนไฟล์ (Save)
การบันทึกข้อมูลลงบนไฟล์ (Save)
wattikorn_080
 
การเปิดไฟล์ภาพ (Open)
การเปิดไฟล์ภาพ (Open)การเปิดไฟล์ภาพ (Open)
การเปิดไฟล์ภาพ (Open)
wattikorn_080
 
การสร้างไฟล์ใหม่ (New)
การสร้างไฟล์ใหม่ (New)การสร้างไฟล์ใหม่ (New)
การสร้างไฟล์ใหม่ (New)
wattikorn_080
 
สร้างใหม่
สร้างใหม่สร้างใหม่
สร้างใหม่
wattikorn_080
 
เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)
เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)
เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)
wattikorn_080
 
ส่วนประกอบของหน้าจอ
ส่วนประกอบของหน้าจอส่วนประกอบของหน้าจอ
ส่วนประกอบของหน้าจอ
wattikorn_080
 
เริ่มต้นกับโปรแกรม
เริ่มต้นกับโปรแกรมเริ่มต้นกับโปรแกรม
เริ่มต้นกับโปรแกรม
wattikorn_080
 

Más de wattikorn_080 (10)

การทำภาพโดยใช้ Filter
การทำภาพโดยใช้ Filterการทำภาพโดยใช้ Filter
การทำภาพโดยใช้ Filter
 
การบันทึกข้อมูลลงบนไฟล์ (Save)
การบันทึกข้อมูลลงบนไฟล์ (Save)การบันทึกข้อมูลลงบนไฟล์ (Save)
การบันทึกข้อมูลลงบนไฟล์ (Save)
 
การเปิดไฟล์ภาพ (Open)
การเปิดไฟล์ภาพ (Open)การเปิดไฟล์ภาพ (Open)
การเปิดไฟล์ภาพ (Open)
 
การสร้างไฟล์ใหม่ (New)
การสร้างไฟล์ใหม่ (New)การสร้างไฟล์ใหม่ (New)
การสร้างไฟล์ใหม่ (New)
 
สร้างใหม่
สร้างใหม่สร้างใหม่
สร้างใหม่
 
เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)
เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)
เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)
 
ส่วนประกอบของหน้าจอ
ส่วนประกอบของหน้าจอส่วนประกอบของหน้าจอ
ส่วนประกอบของหน้าจอ
 
ประเภท
ประเภทประเภท
ประเภท
 
ประเภท
ประเภทประเภท
ประเภท
 
เริ่มต้นกับโปรแกรม
เริ่มต้นกับโปรแกรมเริ่มต้นกับโปรแกรม
เริ่มต้นกับโปรแกรม
 

ประเภทของภาพกราฟฟิค

  • 1. ประเภทของภาพ Graphic ประเภทของกราฟิกส์ การสร้างภาพกราฟิกด้วยคอมพิวเตอร์ มีวิธีการสร้าง 2 แบบ คือ แบบบิตแมพ (Bit Mapped) และแบบเวกเตอร์ (Vector) หรือสโตรก (Stroked) แต่ละแบบวิธีการรสร้างภาพดัง ต่อไปนี้ Bitmap กราฟิกแบบบิตแมปความหมายที่ค่อนข้างจะตรงไปตรงมา คือ มีลักษณะเป็นช่องๆ เหมือนตาราง แต่ละบิตก็คือส่วนหนึ่งของข้อมูลคอมพิวเตอร์ (ซึ่งก็คือสวิตซ์ปิดเปิดใน หน่วยความจำา "1" หมายถึงเปิด และ "0" หมายถึงปิด) และสวิตซ์ปิดเปิดนี้ก็ยังหมายถึงสี ดำาและสีขาวอีกด้วย ดังนั้น ถ้าเราเอาบิตที่แตกต่างกันในแต่ละตารางมารวมกันเข้า เรา จะสามารถสร้างภาพจากจุดดำาและขาวเหล่านี้ได้ กราฟิกแบบบิตแมปทุกชนิดมี ลักษณะที่เหมือนกันอยู่บางประการ ถ้าทำาความเข้าใจส่วนต่างๆ เหล่านี้ เราสามารถที่ จะหลีกเลี่ยงหรือป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ Pixel คื อ อะไร พิกเซล (เป็นคำาที่ใช้แทนองค์ประกอบของภาพ) เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของภา พบิตแมป ซึ่งองค์ประกอบย่อยๆ เหล่านี้ถูกรวมกันเข้าทำาให้เกิดภาพ เราคงคุ้นเคยกับ การที่ส่วนประกอบย่อยๆ มารวมกันเพื่อประกอบเป็นรายการสิ่งของต่างๆ เป็นต้นว่า เอาแต่ละชิ้นของบล็อกกระจกมาประกอบกันเป็นหน้าต่าง แต่ละเข็มของการเย็บปักถัก ร้อยประกอบกันกลายเป็นผลงานทางด้านเย็บปักถักร้อย 1 ชิ้น หรือแต่ละจุดของโลหะ เงินประกอบกันเป็นรูปภาพ 1 รูป นั้นคือองค์ประกอบอาจจะเป็นแก้วชิ้นใหญ่บน หน้าต่าง หรือจุดโลหะเงินเล็กๆ บนแผ่นฟิล์มก็ได้ โดยแต่ละชิ้นเป็นองค์ประกอบที่แยก จากกัน เปรียบเทียบได้กับพิกเซลซึ่งถือเป็นหน่วยย่อยที่เล็กที่สุดของรูปภาพ พิกเซลมี ความสำาคัญต่อการสร้างกราฟิกของคอมพิวเตอร์มาก เพราะทุกๆ ส่วนของกราฟิก เช่น จุด เส้น แบบลายและสีของภาพ ล้วนเริ่มจากพิกเซลทั้งสิ้น พิกเซลหนึ่งๆ อาจจะมีขนาด ความเข้มและสีแตกต่างกันได้ ในโลกแห่งดิจตอลของรูปภาพคอมพิวเตอร์ พิกเซล ได้ ิ ถูกใช้สำาหรับสิ่งต่างๆ เป็นต้นว่าจุดแต่ละจุดบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ จุดแสดงความ ละเอียดของเครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ หรืออุปกรณ์แสดงผลประเภทกราฟิกอื่นๆ ของ ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งบางครั้งอาจทำาให้เราสับสนได้เพื่อให้เกิดความชัดเจน ขอให้คำา จำากัดความดังต่อไปนี้ พิกเซล หมายถึง องค์ประกอบย่อยในไฟล์กราฟิกแบบบิตแมป วิดีโอพิกเซล หมายถึง องค์ประกอบย่อยของภาพในหน้าจอคอมพิวเตอร์ จุดหรือดอต หมายถึง ความละเอียดของภาพที่พิมพ์โดยเครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ เอสเป็ ก เรโซของภาพ (Image Aspect Ratio) แอสเป็กเรโชของภาพ คือ อัตราส่วนระหว่างจำานวนพิกเซลทางแนวขวาง และจำานวน พิกเซลทางแนวดิ่งที่ใช้ในการสร้างภาพ หากจะยกตัวอย่างเปรียบเทียบกับกระดาษ กราฟ จะเห็นได้ว่าภาพบิตแมปใดๆ ก็ตามจะมีจำานวนพิกเซลคงที่ในมิติแนวขวางและ แนวดิ่ง ซึ่งอัตราส่วนมีไว้อ้างถึงขนาดของภาพและมักจะเขียนในรูปของ 800 x 600 (ซี่ง หมายถึงรูปภาพที่มี 800 พิกเซลในแนวขวาง และ 600 บรรทัดของพิกเซลในแนวดิ่ง) เราสามารถคำานวณหาจำานวนพิกเซลทั้งหมดในรูปภาพได้โดยการคูณตัวเลขทั้งสองนี้ เข้าด้วยกัน นั่นคือรูปภาพที่มีแอสเป็กเรโช 800 x 600 จะมีทั้งหมด 480,000 พิกเซล ซึ่ง จำานวนดังกล่าวไม่ได้หมายถึงขนาดของไฟล์ของภาพนั้นๆ รี โ ซลู ช ั น (Resolution)
  • 2. รี โซลูชัน (Resolution) หมายถึง รายละเอียดที่อุปกรณ์แสดงกราฟิกชนิดหนึ่งมีอยู่ ค่ารี โซลูชันมักระบุเป็นจำานวนพิกเซลในแนวนอนคือแนวแกน X และจำานวนพิกเซลใน แนวตั้งคือแนวแกน Y ดังนั้นรีโซลูชัน 720 x 348 จึงหมายความว่า อุปกรณ์แสดงกราฟิก ชนิดนี้สามารถแสดงพิเซลในแนวนอนได้ไม่เกิน 720 พิกเซล และแสดงพิกเซลในแนว ตังได้ไม่เกิน 348 พิกเซล ผู้ผลิตอุปกรณ์แสดงกราฟิกบางรายจะระบุค่ารีโซลูชันเป็น ้ ระดับสูง (High Resolution) ปานกลาง (Medium Resolution) และระดับตำ่า (Low Resolution) โดยพิจารณาจากจำานวนพิกเซลในแนวนอนเพียงอย่างเดียว ซึ่งมีหลักว่า ถ้าค่าน้อย กว่า 128 เป็นระดับตำ่า ค่าระหว่าง 128 ถึง 512 เป็นระดับกลาง ค่าสูงกว่า 512 เป็นระดับสูง สำาหรับจอภาพขนาดปกติ ถ้ามีค่ารีโซลูชันมากกว่า 1500 ตาจะมองไม่เห็นแต่ละพิกเซล คือจะมองเห็นเป็นภาพที่มีความละเอียดคมชัดสูงมาก คอมพิวเตอร์กราฟิกที่ใช้กับฟิล์ม ถ่ายรูปในระดับมืออาชีพจะต้องใช้ค่ารีโซลู ชันสูงถึง 3000 Vector กราฟิก แบบเวกเตอร์ต่างจากบิตแมปตรงที่บิตแมปนั้นประกอบไปด้วย จุดต่างๆ มากมาย แต่กราฟิกแบบเวกเตอร์ใช้สมการ ทางคณิตศาสตร์เป็นตัวสร้างภาพ เช่น วงกลม หรือเส้นตรง เป็นต้น ถึงแม้ว่าอาจจะฟังดูซับซ้อนสักเล็กน้อยแต่ภาพบางชนิดก็ ถูกสร้างได้ง่าย หลักที่จะนำาไปสู่กราฟิกแบบเวกเตอร์ก็คือ การรวมเอาคำาสั่งทาง คอมพิวเตอร์และสูตรทางคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายเกี่ยวกับออ บเจ็กต์ ซึ่งจะปล่อยให้ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เช่น จอภาพ หรือเครื่องพิมพ์เป็นตัวกำาหนดเองว่าจะวางจุดจริงๆ ไว้ที่ตำาแหน่งใดในการสร้างภาพ คุณลักษณะเด่นเหล่านี้ทำาให้กราฟิกแบบเวกเตอร์มี ข้อได้เปรียบ และข้อเสียเปรียบมากมายกับกราฟิกแบบบิตแมป ออบเจ็กต์ (Object) ออบเจ็กต์ง่ายๆ (เช่น วงกลม เส้นตรง ทรงกลม ลูกบาศก์ และอื่นๆ เรียกว่ารูปทรงพื้น ฐาน) สามารถใช้ในการสร้างออบเจ็กต์ที่ซับซ้อนขึ้น กราฟิกแบบเวกเตอร์สามารถ สร้างรูปภาพโดยการรวมเอาออบเจ็กต์หลายๆ ชนิดมาผสมกันเราสามารถผสมออบ เจ็กต์ต่างชนิดกัน (เช่น วงกลมและเส้นตรง) เพื่อสร้างภาพที่แตกต่างกัน กราฟิกแบบ เวกเตอร์ใช้คำาสั่งง่ายๆ เพื่อสร้างออบเจ็กต์พื้นฐาน ถ้าเขียนเป็นภาษาคำาพูดแบบ ธรรมดา คำาสั่งอาจจะอ่านได้ว่า "ลากเส้นตรงจากจุด A ไปยังจุด B" หรือ "ลากวงกลม รัศมี R โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด P" เปรียบเทียบ Bitmap VS Vector กราฟิกแบบบิตแมป สามารถแสดงให้เห็นที่จอภาพได้เร็วกว่าภาพแบบเวกเตอร์ เช่น การแสดงภาพแบบบิตแมปขนาด 1000 ไบต์ จะทำาโดยการใช้คำาสั่งย้ายข้อมูลขนาด 1000 ไบต์ จากหน่วยความจำาที่เก็บภาพไปยังหน่วยความจำาของจอภาพ (คือ Video Display Buffer) ภาพนั้นก็จะปรากฎบนจอภาพทันที การแสดงภาพแบบเวกเตอร์ คอมพิวเตอร์จะใช้เวลามากกว่า เนื่องจากคอมพิวเตอร์ต้อง ทำาตามคำาสั่งที่มีจำานวน มากกว่า การเปลี่ยนแปลงขนาดภาพให้โตขึ้นหรือเล็กลงกว่าภาพเดิม กรณีภาพแบบบิตแมปจะ ทำาได้ไม่มาก นอกจากนั้นยังอาจจะทำาให้ลักษณะ ของภาพผิดเพี้ยนไปจากเดิมด้วย เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงขนาดภาพทำาโดยวิธีการเพิ่มหรือลดพิกเซลจากที่มีอยู่ เดิม ภาพที่ขยายโต ขึนจะมองเห็นเป็นตารางสี่เหลี่ยมเรียงต่อกัน ทำาให้ขาดความสวยงาม ้ แต่ภาพแบบเวกเตอร์จะสามารถย่อและขยายขนาดได้มากกว่า โดยสัดส่วนและ ลักษณะของภาพยังคล้ายเดิม ยิ่งกว่านั้นเราสามารถขยายเฉพาะความกว้างหรือความ สูง เพื่อให้มองเห็นเป็นภาพ ผอมหรืออ้วนกว่าภาพเดิมได้ด้วย