SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 52
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 4
นโยบายสินคาเกษตรไทยเปรียบเทียบ
กับประเทศเพื่อนบานและทางรอด
4.1 เปรียบเทียบนโยบายขาวของไทยและประเทศเพื่อนบาน
4.1.1 ขาว
ในอาเซียนมีเพียง 5 ประเทศหลักเทานั้น ที่มีศักยภาพในการผลิตเพื่อการ
สงออกขาว คือ ไทย เวียดนาม กัมพูชา พมา และลาว เพราะประเทศเหลานี้มีพื้นที่
มาก มีระบบชลประทาน และประชากรสวนใหญในประเทศประกอบอาชีพ
เกษตรกรรมและยังยากจน โดยที่รัฐบาลของแตละประเทศไดพยายามกําหนด
มาตรการและใหการชวยเหลือในรูปแบบตางๆกัน ตามแตกําลังความสามารถและ
งบประมาณของแตละประเทศ ทําใหรัฐบาลของแตละประเทศไมอาจละเลย
เกษตรกรได ดังนั้นจึงมีนโยบายเขามาชวยเหลือในดานตางๆ สามารถสรุปไดดังนี้
(1) นโยบายดานราคาขาว
ปญหาสําคัญของประเทศผูผลิตขาว คือ ปญหาราคาขาวตกต่ํา ซึ่งปญหา
ดังกลาวจะสงผลกระทบไปยังเกษตรกรผูผลิตโดยตรง ทําใหรัฐบาลของแตละ
ประเทศตองออกนโยบายเขามาชวยเหลือเกษตรกร เวียดนามไมไดมีนโยบายเขา
มาแทรกแซงหรือพยุงราคาขาวโดยตรง แตใชนโยบายทางออม เชนใหกระทรวง
อุตสาหกรรมและการคาของเวียดนาม กําหนดราคาสงออกขาวขั้นต่ํา เพื่อปองกัน
ไมใหผูสงออกขายขาวราคาต่ําเกินไป จนสงผลกระทบตอเกษตรกรที่จะถูกกดราคา
รับซื้อ โดยราคาขั้นต่ําที่กําหนดนั้น จะกําหนดใหเหมาะสมกับจํานวนผลผลิตที่
ออกมาในแตละชวงของฤดูกาล และในกรณีที่ราคาขาวของโลกมีความผันผวน
AEC Prompt
84
มาก รัฐก็จะใชนโยบายสงเสริมบริษัทรัฐวิสาหกิจ โดยใหเงินกูดอกเบี้ยต่ํามาชวยรับ
ซื้อขาวเปลือกจากเกษตรกรมาสํารองไว เพื่อปองกันไมใหเกษตรกรถูกกดราคา
ขาวเปลือก
ในขณะที่ไทยมีนโยบายในการเขาไปพยุงราคาขาวโดยตรง ดวยการรับจํานํา
16
และประกันรายได17
ซึ่งการรับจํานําขาวเปลือกเปนมาตรการที่ดึงปริมาณขาว
ออกจากตลาด โดยเฉพาะในชวงตนฤดูการผลิตที่จะมีปริมาณขาวออกสูตลาดเปน
จํานวนมาก ในขณะที่การประกันรายได ปริมาณขาวทั้งหมดยังอยูในตลาด แต
ราคาขาวในประเทศจะมีแนวโนมผันผวนมากกวาการใชมาตรการรับจํานําขาว
อยางไรก็ตามการดําเนินมาตรการจํานําขาวที่ผานมาประสบกับปญหาหลายอยาง
เชน การลักลอบนําเขาขาวจากประเทศเพื่อนบานเขามาสวมสิทธิ์ในการรับจํานํา
การใชงบประมาณของรัฐที่สูงเกินจริง การบริหารจัดการที่ไมโปรงใส และขาด
ประสิทธิภาพ นอกจากนี้การใชมาตรการดังกลาวยังทําใหราคาขาวในประเทศมี
ราคาสูง สงผลกระทบไปถึงศักยภาพในการสงออกขาวของไทยลดลง และในป
2553 ตามกรอบขอตกลงของเขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) อัตราภาษีจะเหลือ
รอยละ 0 หลายฝายมีความกังวลวาจะมีขาวจากลาว เวียดนาม และกัมพูชาทะลัก
เขามาในไทยดังนั้นมาตรการการแทรกแซงราคาขาวดวยการประกันรายไดใหกับ
เกษตรกรจึงเปนทางเลือกที่คาดวาจะลดปญหาการบริหารและการจัดการสต็อก
ลดความเสี่ยงดานราคาและ เรื่องผลผลิตใหแกเกษตรกร ปองกันการสวมสิทธิขาว
16
โครงการรับจํานําขาว รัฐบาลตองจัดสรรงบประมาณใหเปนทุนสําหรับจํานําขาวมีขาวเปนหลักประกัน เมื่อสิ้นสุดระยะจํานํา (4 เดือน) หากราคาไม
ขึ้นหรือขึ้นนอย เกษตรกรก็ปลอยหลุดจํานําไมไถถอน ขาวตกเปนของรัฐบาล โครงการรับจํานํารัฐมีเจตนาสรางดีมานดเทียมเพื่อรักษาเสถียรภาพราคา
ขาวไวไมใหราคาตกต่ํามากจนเกษตรกรขาดทุน
17
โครงการประกันรายได รัฐบาลตองจัดสรรงบประมาณจายขาดเพื่อชดเชยสวนตางราคาขาวโดยไมมีตัวสินคาเขามาเกี่ยวของ เกษตรกรจะขายขาวทุก
ราคาตามกลไกตลาดขณะที่ตลาดยังเปนของผูซื้อ
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
85
จากประเทศเพื่อนบาน สําหรับในดานงบประมาณการใชจายของภาครัฐ ตอง
เปรียบเทียบดูจากของจริง ระหวางนโยบายใหม (การประกันรายได) ซึ่งเริ่มใชใน
เดือน ตุลาคม 2552 กับโครงการพยุงราคาแบบรับจํานําที่ใชในอดีต
สําหรับประเทศกัมพูชา พมา และลาวนั้น รัฐบาลยังไมมีนโยบายในการ
ชวยเหลือแกเกษตรกรในทุกๆ ดาน
(2) นโยบายการเชาและถือครองที่ดินในการทําการเกษตรของ
ตางชาติ
ในปจจุบันกระแสขาวการเขามาเชาที่ทําการเกษตรในประเทศไทยของ
ตางชาติ เปนที่กลาวถึงอยางมาก แตเมื่อพิจารณาตามพระราชบัญญัติการ
ประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ.2542 ระบุไวชัดเจนวาคนตางชาติไมสามารถ
เขามาลงทุนทําธุรกิจทํานา และเลี้ยงสัตวในประเทศไทยได เพราะถือเปนธุรกิจ
ตองหามของคนตางชาติ ที่ถูกกําหนดไวในบัญชี 1 ใหสงวนสําหรับคนไทยเทานั้น
ในขณะที่ประเทศไทยตอตานตานการเขามาเชาพื้นที่ทําการเกษตรของตางชาติ
แตประเทศเพื่อนบานอยาง เวียดนาม ลาว พมา และกัมพูชา กลับมีนโยบาย
สงเสริมใหตางชาติเขาไปเชาพื้นที่ทําการเกษตรในประเทศ โดยมีนโยบายใหเชา
พื้นที่ดวยระยะเวลามากกวา 30 ป และสามารถสงผลผลิตทั้งหมดที่ผลิตไดกลับไป
ยังประเทศของผูลงทุน ถึงแมจะมีนโยบายการเชาและถือครองที่ดินในการทํา
การเกษตรของตางชาติที่ชัดเจน แตผูลงทุนสวนใหญกลับใหความสนใจที่จะลงทุน
ในประเทศไทยมากกวา เนื่องจากประเทศเหลานั้นมีความเสี่ยงในเรื่องการเมือง
การกําหนดนโยบาย ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลาไมมีมั่นคงในสายตา
AEC Prompt
86
ของนักลงทุน ในขณะที่ไทยมีนโยบายหลายดานที่เอื้อกับการลงทุน มีระบบ
โครงสรางพื้นฐานที่ดีกวาและไมมีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงดานนโยบาย
4.1.2 มันสําปะหลัง
นโยบายของภาครัฐในการชวยเหลือเกษตรกรผูปลูกมันสําปะหลังของไทย
สวนใหญเปนนโยบายและมาตรการแทรกแซงราคา ซึ่งดําเนินการโดยกระทรวง
พาณิชย ทั้งนี้เพื่อบรรเทาปญหาความเดือดรอนของเกษตรกรในกรณีที่ราคามัน
สําปะหลังตกต่ํา ซึ่งแสดงรายละเอียดเพิ่มเติมดังนี้
นโยบายการแทรกแซงราคามันสําปะหลังของไทย เปนนโยบายที่กระทรวง
พาณิชยดําเนินการเพื่อบรรเทาความเดือนรอนของเกษตรกรอันเนื่องมาจากการ
ผลิตมันสําปะหลังในป 2551/52 มีมากเกินความตองการ ทําใหราคาหัวมัน
สําปะหลังสดลดลงมาอยูที่ประมาณกิโลกรัมละ 1.00-1.30 บาท ทําใหรัฐตอง
ดําเนินการเขาไปแทรกแซงราคา โดยการรับจํานําหัวมันสําปะหลังสด ป 2551/52
เปนปริมาณ 13 ลานตัน ในราคากิโลกรัมละ 1.80-2.05 บาท ตั้งแตเดือน
พฤศจิกายน 2551-เมษายน 2552 สําหรับป 2552/53 รัฐบาลมีนโยบายประกัน
รายไดใหแกเกษตรกร โดยกําหนดราคาประกันหัวมันสดกิโลกรัมละ 1.70 บาท ซึ่งการ
กําหนดราคาประกัน คํานวณจากตนทุนการผลิต บวกคาขนสงและกําไรใหแก
เกษตรกร และจายคาสวนตางระหวางราคาหัวมันสดใหแกเกษตรกรในกรณีที่ราคา
ตลาดอางอิงต่ํากวาราคาประกันโดยไมตองสงมอบสินคา ซึ่งจะทําใหเกษตรกรมี
รายไดคุมตอการลงทุน สวนในประเทศอินโดนีเซีย เวียดนาม กัมพูชา พมา และลาว
รัฐบาลไมมีนโยบายในการแทรกแซงตลาดแตอยางใด
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
87
4.1.3 ขาวโพดเลี้ยงสัตว
นโยบายดานการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยนั้น สวนใหญเปนนโยบาย
และมาตรการแทรกแซงตลาด ซึ่งดําเนินการโดยกระทรวงพาณิชย ทั้งนี้เพื่อบรรเทา
ปญหาความเดือดรอนของเกษตรกรในกรณีที่ราคาขาวโพดเลี้ยงสัตวตกต่ํา
นอกจากนั้นยังมีมาตรการเพื่อแกปญหาระยะยาวใหแกภาคการผลิตขาวโพดเลี้ยง
สัตวไทยโดยแนวทางการปรับโครงการสรางการผลิต การตลาด และมาตรการ
นําเขาขาวโพดเลี้ยงสัตว สําหรับนโยบายของอินโดนีเซียนั้น กระทรวงเกษตรของ
อินโดนีเซียไดออกกฎกระทรวงเกษตรเรื่อง การควบคุมความปลอดภัยอาหารจาก
พืชที่นําเขาและสงออก และนโยบายเพื่อรักษาความมั่นคงทางดานอาหาร ซึ่งแสดง
รายละเอียดเพิ่มเติมไดดังนี้
(1) นโยบายการแทรกแซงตลาด
นโยบายการแทรกแซงตลาดขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทย เปนนโยบายที่
กระทรวงพาณิชยดําเนินการเพื่อบรรเทาความเดือนรอนของเกษตรกรอัน
เนื่องมาจากราคาขาวโพดเลี้ยงสัตวตกต่ํา ซึ่งมีการดําเนินนโยบายมาโดยตลอด
ตั้งแต ป 2537 จนถึงปจจุบัน นโยบายการแทรกแซงตลาดที่รัฐบาลเลือกดําเนินการ
คือการรับจํานําขาวโพดเลี้ยงสัตว โดยในป 2548 ไดมีการรับจํานําขาวโพดเมล็ด
ความชื้นไมเกิน 30.0% จากเกษตรกรรายบุคคลปริมาณ 5 แสนตัน โดยกําหนด
ราคารับจํานําขาวโพดเมล็ดความชื้น 14.5% เดือนกันยายน-พฤศจิกายน 2548
กิโลกรัมละ 4.75 บาท และเดือนธันวาคม 2548-มกราคม 2549 กิโลกรัมละ 5.00
บาท ระยะเวลาไถถอนภายใน 3 เดือน นับถัดจากเดือนที่รับจํานํา ตอมาในป 2551
รัฐบาลไดมีการดําเนินโครงการแทรกแซงตลาดขาวโพดเลี้ยงสัตวโดยการรับจํานํา
AEC Prompt
88
ขาวโพดปริมาณ 1.5 ลานตัน โดยกําหนดราคารับจํานําขาวโพดเมล็ดความชื้น
14.5% กิโลกรัมละ 8.50 บาท มีระยะเวลาไถถอนภายใน 3 เดือนนับจากเดือนที่รับ
จํานํา
สําหรับนโยบายแทรกแซงตลาดในป 2552 นั้น รัฐบาลมีแนวทางในการ
ดําเนินโครงการประกันราคาขาวโพดเลี้ยงสัตว โดย 1) กําหนดราคาประกัน
ขาวโพดเมล็ดความชื้น 14.5% กิโลกรัมละ 7.10 บาท 2) กําหนดเปาหมายให
เกษตรกรรายครัวเรือนใชสิทธิเพื่อขอรับเงินชดเชยสวนตางราคาประกันกับราคา
ตลาดอางอิงไดในปริมาณที่ผลิตจริงแตไมเกินครัวเรือนละ 20 ตัน ธนาคารเพื่อ
การเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธกส.) ทําสัญญากับเกษตรกรที่ประสงคจะเขา
รวมโครงการฯ เดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน 2552 และ 3) เกษตรกรใชสิทธิประกัน
ราคาไดหลังจากวันทําสัญญา 15 วัน แตไมเกิน 3 เดือนนับจากวันทําสัญญา และ
ตองไมเกิน 28 กุมภาพันธ 255318
(2) นโยบายดานการผลิตและการตลาด
กระทรวงพาณิชยและกระทรวงเกษตรและสหกรณของไทย ไดรวมกันจัดทํา
ยุทธศาสตรการปรับโครงการสรางการผลิตและการตลาดขาวโพดเลี้ยงสัตวตาม
แผนบริหารราชการแผนดิน ป 2548-2551 เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน
สรางมูลคาเพิ่ม และทําใหเกษตรกรมีรายไดจากการขยายผลผลิตในราคาที่
เหมาะสม เปนธรรม โดยมีแนวทาง ดังนี้
18
สํานักสงเสริมการคาสินคาเกษตร กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย (กันยายน 2552)
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
89
1) ดานการผลิต
1.1) พัฒนาและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทั้งดานเทคโนโลยี
และสายพันธุขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ศักยภาพไมเกิน 7 ลานไร เพื่อใหผลผลิตตอ
ไรเพิ่มขึ้นและลดตนทุนการผลิต
1.2) พัฒนาและปรับปรุงคุณภาพขาวโพดเลี้ยงสัตวโดยการถายทอด
เทคโนโลยีและวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวที่ถูกตองใหแกเกษตรกร สถาบัน
การเกษตร เพื่อใหไดผลผลิตที่มีคุณภาพ และมีรายไดเพิ่มขึ้น
1.3) เพิ่มมูลคาขาวโพดเลี้ยงสัตว โดยสงเสริมการเพิ่มรายไดจากเศษ
วัสดุเหลือใชเพื่อเปนการสรางรายไดและเสริมสรางความเขมแข็งภายในชุมชน
2) ดานการตลาด
2.1) จัดระบบการคาและระบบกํากับดูแลเพื่อรักษาความเปนธรรมทาง
การคา
2.2) สงเสริมการซื้อขายขาวโพดเลี้ยงสัตวในระบบตลาดขอตกลงและ
เชื่อมโยงการทําสัญญาขอตกลงระหวางผูซื้อ/ผูขาย
2.3) สรางเครือขายเชื่อมโยงตลาดผลผลิตคุณภาพดีเพื่อเพิ่มอํานาจ
ตอรองใหเกษตรกรสามารถขายผลผลิตไดราคาสูงขึ้น และจูงใจใหมีการพัฒนา
คุณภาพขาวโพดเลี้ยงสัตว
สําหรับนโยบายดานการผลิตของอินโดนีเซียนั้น พบวารัฐบาลอินโดนีเซียให
ความสําคัญในการรักษาความมั่นคงทางอาหาร นั่นคือรักษาเสถียรภาพของ
ปริมาณการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวใหเพียงพอตอความตองการในประเทศ โดยมี
นโยบายที่เกี่ยวของ เชน นโยบายการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เพื่อรักษาปริมาณ
AEC Prompt
90
และคุณภาพของขาวโพดไมใหลดลง โดยเฉพาะอยางยิ่งการจัดการน้ําใหเพียงพอ
ในพื้นที่เพาะปลูก นโยบายการพัฒนากลุม/สถาบันเกษตรกร นโยบายการเพิ่ม
ศักยภาพการสงเสริมการเกษตรและการเพิ่มศักยภาพของเกษตรกรในการเขาถึง
ตลาด19
(3) นโยบายและมาตรการนําเขาขาวโพดเลี้ยงสัตว
นโยบายและมาตรการนําเขาขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยในป 2552 มีการ
กําหนดเชนเดียวกับป 2551 โดยสําหรับมาตรการนําเขาขาวโพดเลี้ยงสัตวที่
เกี่ยวของกับอาเซียนมีดังนี้
1) มาตรการตามขอผูกพัน AFTA กําหนดอัตราภาษีนําเขา 5.0% หรือ
กิโลกรัมละ 2.75 บาท
2) มาตรการตามขอผูกพันยุทธศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี-
เจาพระยา-แมโขง หรือ (Ayeyawady-Chao Phraya-Mekong Economic
Cooperation Strategy : ACMECS) กําหนดอัตราภาษีนําเขารอยละ 0
ทั้งขาวโพดในโครงการ Contract Farming และนอกโครงการ และผูมี
สิทธินําเขาตองจดทะเบียนเปนผูนําเขากับกรมการคาตางประเทศ และ
ตองรายงานการนําเขาตามที่กําหนดเปนประจําทุกเดือน20
นโยบายนําเขาของอินโดนีเซียนั้น ขณะนี้กระทรวงเกษตรของอินโดนีเซียได
ออกกฎกระทรวงเกษตร เรื่อง “การควบคุมความปลอดภัยอาหารจากพืชที่นําเขา
และสงออก” เริ่มมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 19 พฤศจิกายน 2552 เปนตนไป โดย
19
ผลการประชุมคณะรัฐมนตรี วันที่ 8 กันยายน 2552เรื่อง “รายงานผลการเดินทางไปราชการตางประเทศของรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ”
20
สํานักสงเสริมการคาสินคาเกษตร กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย (กันยายน 2552)
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
91
กําหนดใหผูที่จะสงออกสินคาพืชซึ่งรวมถึงขาวโพดเลี้ยงสัตวดวย ตองตรวจสอบ
สารพิษตกคาง สารอะฟลาทอกซิน และโลหะหนัก เชน แคดเมียม และตะกั่ว เปน
ตน21
นโยบายนี้อาจมีผลกระทบทําใหการสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยไปยัง
อินโดนีเซียลดลงได22
4.1.4 ถั่วเหลือง
นโยบายดานการนําเขาถั่วเหลืองของประเทศไทยนั้น พบวามีการกําหนด
นโยบายและมาตรการนําเขาเมล็ดถั่วเหลืองเปนอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ
น้ํามันพืชและพืชน้ํามัน ซึ่งกําหนดใหประเทศไทยเปดตลาดนําเขาเมล็ดถั่วเหลือง
ป 2549 ตามมติคณะกรรมการพืชน้ํามันและน้ํามันพืช ดังนี้
(1) ใหนําเขาไมจํากัดปริมาณ และชวงเวลานําเขา อากรนําเขาในโควตา
รอยละ 0 นอกโควตา รอยละ 80
(2) ผูมีสิทธินําเขาในโควตา รวม 13 ราย คือ สมาคมผูผลิตน้ํามันถั่วเหลือง
และรําขาว สมาคมผูผลิตอาหารสัตวไทย สมาคมปศุสัตวไทย สมาคมผูเลี้ยงไกเนื้อ
เพื่อการสงออก สมาคมสงเสริมผูใชวัตถุดิบอาหารสัตว สมาคมผูผลิตไกเพื่อ
สงออกไทย สมาคมผูคาสินคาเกษตรกับประเทศเพื่อนบาน บริษัท กรีนสปอรต
(ประเทศไทย) จํากัด บริษัท แลคตาซอย จํากัด บริษัท ไทยเทพรสผลิตภัณฑอาหาร
จํากัด (มหาชน) บริษัท แดรี่พลัส จํากัด บริษัท ไทยชิม จํากัด และหางหุนสวน
จํากัด คิคโคเคน หากมีผูยื่นขอสิทธินําเขารายใหมใหฝายเลขานุการคณะกรรมการ
พืชน้ํามันและน้ํามันพืช (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร) เปนผูพิจารณาและแจง
คณะกรรมการทราบ
21
ขาวโพดตองตรวจสอบสารตกคางและโลหะหนักประมาณ 20รายการ
22
“อินโดฯคุมเขมนําเขาสินคาเกษตร” หนังสือพิมพเดลินิวส วันอังคาร ที่ 8 กันยายน 2552
AEC Prompt
92
(3) ผูมีสิทธินําเขาในโควตาตองรับซื้อเมล็ดถั่วเหลืองที่ผลิตในประเทศจาก
เกษตรกรทั้งหมด ดังนี้
- ถั่วเหลืองเกรดสกัดน้ํามัน ราคาไมต่ํากวา กก.ละ 12.25 บาท ณ ไรนา
หรือ 13.00 บาท ณ หนาโรงงาน ตลาดกรุงเทพมหานคร
- ถั่วเหลืองเกรดผลิตอาหารสัตว ราคาไมต่ํากวา กก.ละ 12.50 บาท ณ
ไรนา หรือ 13.25 บาท ณ หนาโรงงาน ตลาดกรุงเทพมหานคร
- ถั่วเหลืองเกรดแปรรูปผลิตภัณฑอาหาร ราคาไมต่ํากวา กก.ละ 14.50
บาท ณ ไรนา หรือ 15.25 บาท ณ หนาโรงงาน ตลาดกรุงเทพมหานคร
ทั้งนี้ผูมีสิทธินําเขาในโควตาตองทําสัญญารับซื้อเมล็ดถั่วเหลือง
ภายในประเทศกับกระทรวงเกษตรและสหกรณและกระทรวงพาณิชย
นอกจากนี้คณะกรรมการพืชน้ํามันและน้ํามันพืช ไดแตงตั้ง
คณะอนุกรรมการกํากับ ดูแลเมล็ดถั่วเหลือง เพื่อกํากับดูแลและติดตามการรับซื้อ
เมล็ดถั่วเหลืองที่ผลิตในประเทศ การใชเมล็ดถั่วเหลืองนําเขาของผูมีสิทธินําเขา
เมล็ดถั่วเหลืองในโควตาใหเปนไปตามนโยบาย เงื่อนไข และมาตรการนําเขาเมล็ด
ถั่วเหลือง ตามมติคณะกรรมการพืชน้ํามันและน้ํามันพืช และที่ทางราชการกําหนด
โดยมี เลขาธิการสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร เปนประธาน ผูแทนจากหนวยงาน
ราชการ และเอกชนที่เกี่ยวของ เปนอนุกรรมการ และผูอํานวยการสํานักวิจัย
เศรษฐกิจการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร เปนอนุกรรมการและ
เลขานุการ (ที่มา: สํานักสงเสริมการคาสินคาเกษตร กรมการคาภายใน กระทรวง
พาณิชย)
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
93
4.1.5 ปาลมน้ํามันและน้ํามันปาลม
เมื่อพิจารณาในภาพรวมของนโยบายในภาพรวมของประเทศไทย
อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ซึ่งเปนผูผลิตปาลมน้ํามันและน้ํามันปาลมรายใหญของ
โลกแลว จะพบวานโยบายของไทยเปนไปเพื่อควบคุมการนําเขาเพื่อปกปอง
อุตสาหกรรมน้ํามันปาลมในประเทศ สวนนโยบายอื่นๆ และองคกรควบคุมกํากับ
นโยบายที่ยังไมชัดเจน
ในขณะที่ในมาเลเซียรัฐบาลใหการสนับสนุนรวมถึงการดูแลและควบคุม
ตั้งแตการปลูกจนถึงการสงออก สนับสนุนการเพิ่มมูลคาใหกับน้ํามันปาลมใหมี
มูลคาสูงขึ้น เชน เคมีภัณฑจากน้ํามันปาลม และมีนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพ
ราคาผลผลิต โดยการกําหนดใหมีสต็อกไมเกิน 1 ลานตันตอเดือน อีกทั้งยังมี
Malaysian Palm Oil Board (MPOB) เปนองคกรระดับชาติในการควบคุมดูแล
สวนนโยบายของอินโดนีเซียนั้นไดมีการสนับสนุนใหชาวตางชาติเขามา
ลงทุนในธุรกิจปาลมน้ํามัน และสนับสนุนการสงออกน้ํามันปาลมที่มีมูลคาสูง จน
ทําใหอินโดนีเซียกาวขึ้นมาเปนผูผลิตปาลมน้ํามันอันดับ 1 ของโลก
4.1.6 กาแฟ
สําหรับนโยบายสงเสริมและสนับสนุนดานกาแฟของประเทศไทยและ
ประเทศเพื่อนบานที่เปนผูผลิตสําคัญ คือ เวียดนามและอินโดนีเซียนั้น สามารถ
สรุปไดดังนี้
(1) นโยบายดานการปลูกกาแฟ
นโยบายดานการปลูกกาแฟของประเทศไทยนั้น ปจจุบันเปนการเนนดาน
คุณภาพของเมล็ดกาแฟและปริมาณผลผลิตตอไรมากกวาสงเสริมใหเพิ่มพื้นที่ปลูก
AEC Prompt
94
กาแฟ โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณไดกําหนดใหหนวยงานที่เกี่ยวของสงเสริม
ใหเกษตรกรผูปลูกกาแฟหันไปปลูกกาแฟคุณภาพดีซึ่งมีราคาสูงกวา และชวงชิง
สวนแบงทางการตลาดของกาแฟคุณภาพนี้ รวมทั้งมีมาตรการเพิ่มปริมาณผลผลิต
เมล็ดกาแฟตอไรใหเพิ่มสูงขึ้นและมีตนทุนลดลง โดยการปรับโครงสรางการผลิต
ปรับปรุงสูตรการใสปุย และการพัฒนาสายพันธุเมล็ดกาแฟ
สําหรับนโยบายดานการปลูกกาแฟของประเทศเวียดนามนั้น พบวาในชวงที่
ผานมาราคาเมล็ดกาแฟในตลาดโลกผันผวนและตกต่ําทําใหรัฐบาลเวียดนามหัน
มาสงเสริมดานการพัฒนาประสิทธิภาพของการปลูกกาแฟมากยิ่งขึ้น ดังนี้
- กําหนดมาตรฐานของเมล็ดกาแฟที่ชัดเจนเพื่อสรางความเชื่อมั่นใหแก
ผูบริโภคและลูกคา เชน การประกาศมาตรฐานคุณภาพเมล็ดกาแฟ
TCVN 4193 : 2001 ในป 2544 และปรับปรุงมาตรฐานคุณภาพเมล็ด
กาแฟใหม คือ TCVN 9193 : 2001 ในป 2545 เปนตน
- นโยบายลดพื้นที่ปลูกกาแฟพันธุโรบัสตาในพื้นที่ที่ไมเหมาะสม และเพิ่ม
พื้นที่ปลูกกาแฟพันธุอาราบิกาในพื้นที่ที่เหมาะสมแทนเนื่องจากมีราคา
ดีกวา
- คิดคนและวิจัยพันธุกาแฟใหมๆ ที่ใหปริมาณผลผลิตสูงกวา คุณภาพ
ดีกวา และการวิจัยความเปนกรด-ดางของดินในระดับที่มีประสิทธิภาพ
มากที่สุด นั่นคือมีการใชปุยนอยลงแตใหปริมาณผลผลิตเทาเดิม
- สงเสริมการผลิตกาแฟปลอดสารเคมี โดยเฉพาะในพื้นที่เพาะปลูกทาง
ตอนเหนือที่อยูในเขตภูเขา มีความเหมาะสมในการปลูกกาแฟโดยไม
จําเปนตองใสปุยหรือยาฆาแมลง
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
95
- นโยบายเพิ่มการลงทุนของรัฐบาลดานการขยายการใหบริการแก
ผูประกอบการรายยอยในชนบท และการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานใน
พื้นที่ชนบทใหดียิ่งขึ้น เพื่ออํานวยความสะดวกดานการเพาะปลูกและการ
ขนสงกาแฟ
- สมาคมกาแฟเวียดนามไดทําความตกลงกับทางการแขวงจําปาสักของ
ลาวเพื่อปลูกกาแฟพันธุอาราบิกาในพื้นที่กวา 60,000 ไรในเขตเมืองปาก
ซอง (ป 2550) โดยเปนบริษัทรวมทุนของสองประเทศเพื่อปลูกกาแฟ
คุณภาพดีของลาว ซึ่งผลผลิตจากที่แหงนี้จะสงออกไปยังสหภาพยุโรป
และสหรัฐอเมริกา แตเนื่องจากเนื้อที่เพาะปลูกมีจํากัดและขาดแรงงาน
ทองถิ่นทําใหไมสามารถขยายการผลิตไดตามที่ตกลง โดยทางการแขวง
ไดสัญญาจะจัดหาพื้นที่ประมาณ 18,000-30,000 ไร ใหแกบริษัทกาแฟ
รวมทุนเวียดนาม-ลาวดังกลาว
สวนนโยบายดานการปลูกกาแฟของอินโดนีเซียนั้น พบวามีมาตรการสงเสริม
ใหมีปริมาณการผลิตเมล็ดกาแฟภายในประเทศใหมากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพาการ
นําเขาเมล็ดกาแฟจากตางประเทศ รวมทั้งมีนโยบายสนับสนุนดานการขยายพื้นที่
การปลูกกาแฟพันธุอาราบิกาในพื้นที่เกาะสุมาตรา เพื่อเพิ่มมูลคาการสงออก
แทนที่กาแฟพันธุโรบัสตาที่มีราคาต่ํากวา
(2) นโยบายดานการนําเขาเมล็ดกาแฟ
เนื่องจากเมล็ดกาแฟจัดอยูในบัญชีสินคาออนไหวของไทย ที่กําหนดใหลด
อัตราภาษีเหลือรอยละ 5 ในป 2553 ซึ่งจากการลดอัตราภาษีนี้สงผลใหรัฐบาลไทย
มีมาตรการรับมือกับผลกระทบของการทะลักเขามาของเมล็ดกาแฟจาก
AEC Prompt
96
ตางประเทศ โดยกําหนดใหองคการคลังสินคา (อคส.) หรือผูประกอบการที่เปนนิติ
บุคคล เปนผูนําเขาภายใตเงื่อนไขและการกํากับดูแลของคณะอนุกรรมการพืชสวน
ภายใตคณะกรรมการนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ เงื่อนไขก็คือ
กําหนดใหมีการนําเขาเมล็ดกาแฟในชวงพฤษภาคม-สิงหาคมของทุกป และใชเปน
วัตถุดิบในการแปรรูปเทานั้น หามจําหนายหรือจายแจกเปนวัตถุดิบภายในประเทศ
อีกทั้งกําหนดใหผูมีสิทธินําเขาเมล็ดกาแฟตองรับซื้อเมล็ดกาแฟในประเทศใน
ฤดูกาลถัดไปตามปริมาณนําเขานั้นดวย โดยจะตองรับซื้อตามราคาตลาดโลก หรือ
หากราคาตลาดโลกตกต่ําใหรับซื้อในราคาตนทุนการผลิตบวก 20% รวมถึง
มาตรการเขมงวดดานสุขอนามัยพืชที่เปนการกําหนดในดานโรคพืชและแมลง และ
มาตรการที่มิใชภาษี (Non-Tariff Measures : NTM) ที่เปนการกําหนดมาตรฐาน
และสารปนเปอนดวย
(3) นโยบายดานราคาเมล็ดกาแฟ
ในอดีตประเทศไทยเคยดําเนินมาตรการแทรกแซงราคาเมล็ดกาแฟ
ดําเนินการรับจํานําเมล็ดกาแฟพันธุโรบัสตาจากเกษตรกรรายยอยในจังหวัดแหลง
ผลิต แตในปจจุบันไมไดดําเนินมาตรการดังกลาวแลวเนื่องจากราคาเมล็ดกาแฟใน
ตลาดโลกสูงขึ้น รวมทั้งการพัฒนาเครือขายเกษตรกรชาวสวนกาแฟกับผูประกอบ
กิจการแปรรูปกาแฟใหสามารถกําหนดราคาซื้อ-ขายที่เหมาะสมไดเอง
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
97
4.2 ปญหาสินคาเกษตรไทยในตลาดอาเซียน
4.2.1 ขาว
ถึงแมปจจุบันประเทศไทยจะยังคงครองอันดับ 1 ในการสงออกขาวใน
ตลาดโลก แตสําหรับตลาดอาเซียนนั้นคงตองยอมรับวาในชวงหลายปที่ผานมา
ไทยไดเสียตลาดขาวสวนใหญใหกับประเทศเพื่อนบานอยางเวียดนาม และยังเสีย
ตลาดบางสวนใหกับกัมพูชา พมา และลาว ซึ่งปญหาของขาวไทยในตลาดอาเซียน
เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบาน สามารถสรุปไดดังนี้
(1) ตนทุนการผลิตตอไรสูง แตผลผลิตตอไรต่ํา
ปญหาดานตนทุนการผลิตและผลผลิตตอไร เปนปญหาที่สงผลกระทบ
โดยตรงตอศักยภาพในการสงออกขาวของไทยในตลาดอาเซียน เพราะเมื่อ
เปรียบเทียบตนทุนการผลิตตอไรของไทยกับเวียดนาม ขอมูลจากสมาคมชาวนา
ไทย ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2552 ราคาตนทุนการผลิตตอไรของไทยอยูที่ 5,950
บาท ในขณะที่เวียดนามมีตนทุนการผลิตตอไรใกลเคียงกับของไทย สวนตนทุนการ
ผลิตของพมานั้นต่ํากวาของไทยคอนขางมาก โดยการผลิตขาวที่ใชแรงคนตนทุน
การผลิตจะอยูที่ 2,000 บาทตอไร แตถามีเครื่องจักรเขามาชวยตนทุนการผลิตจะ
อยูที่ 3,000 บาทตอไร ซึ่งผลผลิตตอไรของไทยกับเวียดนามเมื่อเปรียบเทียบกัน
แลว พบวาเวียดนามมีผลผลิตตอไรสูงกวาไทยคอนขางมาก โดยเมื่อพิจารณา
ขอมูลชวงป 2549/50-2552/53 จะเห็นวาเวียดนามมีผลผลิตตอไรสูงถึง 782.4-
796.0 กิโลกรัมตอไร ในขณะที่ไทยมีผลผลิตตอไรเพียง 441.6-452.8 กิโลกรัมตอไร
(ตารางที่ 6)
AEC Prompt
98
(2) ระบบชลประทานในพื้นที่เพาะปลูกมีจํากัด
จากรายงานขอมูลพื้นฐานเศรษฐกิจการเกษตร ของสํานักงานเศรษฐกิจ
การเกษตร ป 2551 พบวาในปจจุบันมีระบบชลประทานอยูในพื้นที่เพาะปลูกขาว
เพียงรอยละ 32 ของพื้นที่ปลูกขาวทั้งหมดของประเทศ สวนอีกรอยละ 68 ตอง
พึ่งพาน้ําฝนเปนหลัก ซึ่งพื้นที่ปลูกขาวที่ไมมีระบบชลประทานสวนใหญจะอยูใน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือของไทย ในขณะที่เวียดนามมีระบบ
ชลประทานกระจายอยูในพื้นที่เพาะปลูกมากถึงรอยละ 50 ของพื้นที่เพาะปลูกขาว
ทั่วประเทศ ทําใหเกษตรกรที่อยูในเขตชลประทานสามารถปลูกขาวได 2-3 ครั้งตอ
ป
(3) งบประมาณการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการผลิตขาวนอยเกินไป
ในปจจุบันรัฐบาลไทยไมไดใหความสําคัญเทาที่ควรกับการวิจัยและพัฒนา
เพื่อปรับปรุงพันธุขาว รวมไปถึงเทคโนโลยีในการเพาะปลูก และการพัฒนาความรู
ความสามารถใหกับเกษตรกรผูปลูกขาว เห็นไดจากการกําหนดนโยบายและการ
จัดสรรงบประมาณของรัฐบาล ซึ่งรัฐบาลใหความสําคัญกับนโยบายดานราคาขาว
มากกวาที่จะสนับสนุนดานการพัฒนาและการวิจัย โดยงบประมาณที่ไดมาสําหรับ
การวิจัยและพัฒนาขาวของไทย อยูในหลักรอยลานบาทตอปเทานั้น ในขณะที่
ประเทศคูแขงที่สําคัญอยางเวียดนาม รัฐบาลเวียดนามใหความสําคัญกับเรื่องนี้
เปนอยางมาก โดยทุมงบประมาณหลายพันลานบาทตอป ในการสนับสนุนการ
วิจัยและพัฒนาพันธุขาวอยางตอเนื่อง รวมไปถึงการใหความชวยเหลือแก
เกษตรกรในการเพิ่มปริมาณผลผลิต สนับสนุนการขยายพันธุขาวใหมๆ ที่ใหผล
ผลิตสูงและใชเวลาสั้นลงในการเพาะปลูก อีกทั้งใหความสําคัญกับการพัฒนา
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
99
พื้นที่เพาะปลูกใหมีศักยภาพมากขึ้น เพื่อใหเอื้อตอการปลูกขาวเพื่อการสงออกเปน
การเฉพาะ จากปจจัยดังกลาวทําใหเวียดนามสามารถพัฒนาดานการผลิตขาวได
อยางรวดเร็ว
(4) ราคาสงออกขาวไทยสูงกวาประเทศเพื่อนบาน
เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบราคาสงออกขาวของไทยกับประเทศเพื่อนบานใน
อาเซียนที่สามารถผลิตและสงออกขาวทั้งพมา ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ราคา
ขาวของไทยถือวาอยูในระดับที่คอนขางสูง โดยเฉพะเมื่อเปรียบเทียบกับเวียดนาม
ซึ่งเปนคูแขงที่สําคัญของไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก จะเห็นวาในราคา
สงออกขาวของเวียดนามต่ํากวาไทยคอนขางมาก เห็นไดจากราคาขาวสารชนิด
5% ในป 2550 ราคาขาวของเวียดนามต่ํากวาไทยอยูเพียง 20 เหรียญสหรัฐฯ
ตอตัน แตในป 2552 (ม.ค.-มิ.ย.) ราคาสงออกขาวของเวียดนามต่ํากวาไทยถึง
169 เหรียญสหรัฐฯตอตัน ซึ่งจากราคาขาวของเวียดนามที่ต่ํากวาไทยคอนขางมาก
ถือวาเปนจุดแข็งและจุดขายที่ทําใหเวียดนามสามารถแยงตลาดขาวในหลาย
ประเทศทั้งในและนอกอาเซียนจากไทย (ตารางที่ 43)
ตารางที่ 43 เปรียบเทียบราคาสงออกขาวระหวางไทยกับเวียดนาม (FOB) หนวย: เหรียญสหรัฐฯ/ตัน
ไทย เวียดนาม
รายการ
2550 2551 2552 (ม.ค.-มิ.ย.) 2550 2551 2552 (ม.ค.-มิ.ย.)
ขาวสารชนิด 5% 333* 691* 601* 313 614 432
ขาวสารชนิด 25% 305 603 469 294 553 383
หมายเหตุ: * เปนขอมูลจาก USDA, Rice Outlook, September, 2009.
ที่มา: FAO, Rice Market Monitor, collected from Jackson Son & Co. (London) Ltd. and other public sources. 2009.
AEC Prompt
100
(5) ขาดการประชาสัมพันธในการสรางตราสินคาขาวไทยในตลาด
อาเซียนและตลาดโลก
รัฐบาลยังไมมีการประชาสัมพันธในสินคาขาวไทยและผลิตภัณฑที่ทําจาก
ขาว ในประเทศอาเซียนมากนัก ถึงแมวาที่ผานมารัฐบาลจะมีการจัดโรดโชวขาว
ไทยในประเทศตางๆ ทั้งในอาเซียนและนอกอาเซียนบาง แตก็ยังไมเพียงพอที่จะทํา
ใหขาวไทยเปนที่รูจักในกลุมผูบริโภคในตางประเทศ ที่สําคัญยังขาดยุทธศาสตรเชิง
รุกและงบประมาณในการสนับสนุน
(6) ระบบและตนทุนขนสง
ตนทุนการขนสงขาวของไทยอยูในระดับที่คอนขางสูงเมื่อเทียบกับประเทศ
เพื่อนบานโดยเฉพาะเวียดนาม เนื่องจากโดยโครงสรางการทําการเกษตร (ปลูก
ขาว) ของไทยสวนใหญใชการขนสงทางถนนเปนหลัก รองลงมาเปนทางเรือและ
ทางรถไฟ เพราะไทยมีระบบการขนสงทางถนนที่ดี ทําใหสะดวกและรวดเร็วแต
ตนทุนจะสูง ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับเวียดนาม โดยโครงสรางของพื้นที่ในบริเวณ
สามเหลี่ยมปากแมน้ําโขงจะพึ่งระบบทางน้ําเปนหลัก ทําใหมีตนทุนการขนสงที่ถูก
กวาไทย แตจะเกิดความลาชาและไมคอยสะดวกโดยเฉพาะการรวบรวมผลผลิต
จํานวนมากๆ ในคราวเดียวกัน แตทั้งนี้รัฐบาลของเวียดนามไดใหความสําคัญกับ
การสรางทาเรือไวสําหรับรองรับการขนสงขาวเฉพาะ โดยไดสรางทาเรือและ
จัดระบบขนสงทางน้ําไวในพื้นที่ๆ มีการเพาะปลูกขาวที่สําคัญของประเทศเพื่อ
รองรับการขนสงขาวภายในประเทศและขนสงตอไปยังตางประเทศ ทําใหตนทุน
การขนสงขาวของเวียดนามต่ํากวาของไทยและประเทศเพื่อนบาน
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
101
(7) ไมมีนโยบายและยุทธศาสตรขาวที่ชัดเจนภายใตประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน
ในขณะที่สินคาขาวของไทยตองลดภาษีเปน 0 ในกรอบของ AFTA และ
กรอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในวันที่ 1 มกราคม 2553 นี้ ในขณะ
ที่ประเทศอื่นๆ ในอาเซียนไมไดลดภาษี แตจัดขาวอยูในรายการสินคาออนไหวที่
ตองดูแลเปนพิเศษ ซึ่งรัฐยังไมมีนโยบายหรือยุทธศาสตรของประเทศที่ชัดเจนใน
การกําหนดทิศทางของขาวไทย ทําใหการดําเนินงานของหนวยงานที่เกี่ยวของทั้ง
ทางดานการวิจัยและการพัฒนา รวมไปถึงการสงเสริมของหนวยงานตางๆ ทั้ง
ภาครัฐและเอกชนขาดประสิทธิภาพ และไมเปนไปในทิศทางเดียวกัน
4.2.2 มันสําปะหลัง
ปญหามันสําปะหลังของไทยในตลาดอาเซียนมีนอยมาก เนื่องจากในตลาด
อาเซียนไทยเปนประเทศที่มีศักยภาพในการผลิต และความสามารถในการสงออก
ผลิตภัณฑมันสําปะหลังสูงกวาประเทศคูแขงอยางอินโดนีเซียและเวียดนาม
คอนขางมาก ดังนั้นในตลาดอาเซียนคูแขงที่แทจริงของไทยคือการแขงกับตัวเองใน
การพัฒนาศักยภาพการผลิต การพัฒนาการแปรรูปมันสําปะหลังออกมาใน
รูปแบบตางๆ เพื่อที่จะรักษาตลาดผลิตภัณฑเดิมและขยายตลาดผลิตภัณฑใหมๆ
4.2.3 ขาวโพดเลี้ยงสัตว
ขาวโพดเลี้ยงสัตวของประเทศไทยในตลาดอาเซียนนั้น แมวาจะมีปริมาณ
ผลผลิตเฉลี่ยตอไรที่เทียบกับประเทศอาเซียนแลวอยูที่อันดับ 2 รองจากประเทศ
ลาว แตเมื่อพิจารณาปริมาณการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว จะพบวาอยูในอันดับ 3
รองลงมาจากประเทศอินโดนีเซียและฟลิปปนส เนื่องจากทั้ง 2 ประเทศนี้มีเนื้อที่
AEC Prompt
102
เพาะปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวมากกวาประเทศไทย รวมทั้งปญหาดานอื่นๆ ซึ่งสรุปได
ดังนี้
(1) ปญหาแนวโนมการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยลดลง
พื้นที่เพาะปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในประเทศไทยมีแนวโนมลดลงเรื่อยมา ซึ่ง
มีเหตุผลมาจากเกษตรกรบางสวนที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่มี
แรงจูงใจดานผลตอบแทนสูงกวา เชน มันสําปะหลัง ออย และยางพารา เปนตน จึง
ทําใหพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในประเทศไทยลดลงอยาง แตในทางกลับกัน
อุตสาหกรรมอาหารสัตวในประเทศไทยมีความตองการใชวัตถุดิบเพิ่มขึ้น ซึ่ง
ขาวโพดก็เปนหนึ่งในวัตถุดิบหลัก ดังนั้นผลที่ตามมาอาจทําใหประเทศไทย
จําเปนตองนําเขาขาวโพดเลี้ยงสัตวมาจากประเทศเพื่อนบานเพิ่มมากขึ้น
(2) ปญหาการปนเปอนของสารอัลฟราทอกซิน
การเพาะปลูกขาวโพดของไทยแบงออกไดเปน 2 รุนหลักๆ คือ23
1) รุนที่ 1 มีชวงเวลาการปลูกเดือน พฤษภาคม-ตุลาคม และมีชวงเวลาเก็บ
เกี่ยวเดือน สิงหาคม-กุมภาพันธ มีปริมาณผลผลิตสูงที่สุดประมาณรอย
ละ 80.0 ของผลผลิตขาวโพดทั้งหมด
2) รุนที่ 2 มีชวงเวลาการปลูกเดือน พฤศจิกายน-มีนาคม และมีชวงเวลา
เก็บเกี่ยวเดือน กุมภาพันธ-มิถุนายน มีปริมาณผลผลิตประมาณรอยละ
20.0 ของผลผลิตขาวโพดทั้งหมด
23
“ขอมูลพื้นฐานเศรษฐกิจการเกษตร” ศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2552
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
103
จากชวงเวลาการปลูกและเก็บเกี่ยวของขาวโพดทั้ง 2 รุนนี้ จะเห็นวาในรุนที่
1 ซึ่งเปนรุนที่มีปริมาณผลผลิตมากที่สุด พบวามีชวงเวลาการเก็บเกี่ยวในฤดูฝนทํา
ใหเสี่ยงตอการขึ้นราและปนเปอนสารพิษอัลฟราทอกซิน ซึ่งการปนเปอนสวนหนึ่ง
จะเกิดขึ้นกับขาวโพดที่เก็บไวในยุงของเกษตรกร และปริมาณสารพิษจะเพิ่มมาก
ขึ้นเมื่อขาวโพดอยูในมือของพอคาทองถิ่น โดยเฉพาะชวงที่ขาวโพดอยูในโกดังเพื่อ
รอลดความชื้น นอกจากนี้ในชวงปลายของฤดูฝนจะมีการระบาดของโรคและแมลง
ซึ่งทําใหผลผลิตขาวโพดเสียหายอีกดวย
4.2.4 ถั่วเหลือง
ปญหาของถั่วเหลืองไทยในอาเซียนยังไมมีมากนัก เนื่องจากประเทศไทยเปน
ประเทศผูนําเขาถั่วเหลือง โดยสามารถสงออกไดนอยมาก และขณะนี้ผลผลิตตอไร
ของไทยอยูในระดับที่สูงกวาประเทศเพื่อนบานทั้งหมด ดังนั้นในระยะสั้นคาดวา
ยังคงไมพบปญหา แตในระยะยาวนั้นอาจมีปญหาผลผลิตในประเทศที่มีแนวโนม
ลดลงเพราะมีพื้นที่ใหผลผลิตลดลง จึงอาจตองนําเขาถั่วเหลืองเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจเกิด
ปญหาในดานคุณภาพของถั่วเหลืองที่นําเขาจากประเทศเพื่อนบานบางประเทศที่
เปนถั่วเหลือง (Genetic Modified Organisms : GMOs) ซึ่งอาจทําใหถูกกีดกัน
ทางการคาจากประเทศผูนําเขาผลิตภัณฑถั่วเหลืองจากไทยได
4.2.5 ปาลมน้ํามันและน้ํามันปาลม
แมวาประเทศไทยจะยังมีปญหาในการผลิตปาลมน้ํามันแตไทยก็ยังสามารถ
ปรับตัวเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาอุตสาหกรรมน้ํามันปาลมจนสามารถ
พึ่งพาตัวเองได ไมตองนําเขาหรือนําเขาในปริมาณนอยและยังสามารถผลิตจน
เหลือสงออกไปยังตางประเทศได สรางความเขมแข็งใหเกิดขั้นทั้งระบบไมวาจะ
AEC Prompt
104
เปนเกษตรกร ผูประกอบการแปรรูป รวมถึงผูบริโภค แตปจจุบันยังมีปญหาเกิดขึ้น
ในการพัฒนาน้ํามันปาลมของไทย สามารถสรุปเปนปญหาในดานตางๆ ได
ดังตอไปนี้
(1) ดานการผลิต
1) คุณภาพของผลปาลมน้ํามันที่ยังมีคุณภาพต่ํา เนื่องจากพันธุปาลมมี
คุณภาพต่ํา
2) ตนทุนการเพาะปลูกปาลมน้ํามันของไทยอยูในระดับสูง เนื่องจาก
ชาวสวนปาลมสวนใหญเปนเกษตรกรรายยอย พื้นที่ปลูกปาลมน้ํามันมี
ขนาดเล็ก สงผลใหผลผลิตตอไรอยูในระดับต่ําและตนทุนการผลิตสูง
รวมการขาดการบริหารจัดการที่ดี
3) เกษตรกรขาดอํานาจตอรอง และมีการจําหนายผลผลิตขาดการแยก
เกรดทําใหไดราคาต่ํา
(2) ดานการบริหารจัดการ
1) การขยายพื้นที่สงเสริมการปลูกโดยมิไดคํานึงถึงความเหมาะสมของ
พื้นที่และความเปนไปไดในทางปฏิบัติ
2) โรงงานสกัดน้ํามันปาลมมีกําลังการผลิตสวนเกิน ซึ่งปจจุบันมีโรงงาน
สกัดน้ํามันปาลม 54 โรงงานมีกําลังการผลิตรวม 14.5 ลานตันผลปาลม
สดตอป มีกําลังการผลิตสวนเกินเฉลี่ยรอยละ 55 สงผลใหเกิดการตัด
ปาลมดิบเขาสูโรงงานในขณะมีที่โรงงานกลั่นน้ํามันปาลมบริสุทธิ์ 14
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
105
โรงงาน มีกําลังการผลิต 1.2 ลานตันน้ํามันปาลมดิบตอป โรงงานมี
กําลังผลิตสวนเกินรอยละ 45 เชนกัน
3) การดําเนินนโยบายพลังงานทดแทน ซึ่งมีวัตถุประสงคหลักเพื่อ
สงเสริมไบโอดีเซล โดยใชน้ํามันสวนที่เหลือจากการบริโภคมาผลิต
เปนไบโอดีเซล เพื่อลดการนําเขาน้ํามันเชื้อเพลิง ยังไมมีวัตถุดิบเพียงพอ
แมวาจะนโยบายในการเพิ่มพื้นที่เพาะปลูกปาลมเพื่อนําไปใชผลิต
พลังงานทดแทนโดยเฉพาะ
4) การขาดมาตรฐานในการกําหนดราคารับซื้อผลปาลม การเปลี่ยนแปลง
ของราคาผลปาลมจะสงผลตอการเปลี่ยนแปลงราคาน้ํามันปาลมดิบ
จนกระทั่งน้ํามันปาลมบริสุทธิ์ที่ใชในการบริโภคและการผลิตสินคา
อุปโภคบริโภคในอุตสาหกรรมตอเนื่องดวย
5) ประเทศไทยยังขาดหนวยงานที่ควบคุมดูและจัดการเกี่ยวกับปาลม
น้ํามันและน้ํามันปาลมอยางเปนระบบเชนเดียวกับ Malaysian Palm
Oil Board (MPOB) ของมาเลเซีย ซึ่งกลาวไดวานี่เปนจุดแข็งที่สําคัญ
อยางหนึ่งของการพัฒนาอุตสาหกรรมปาลมน้ํามันของมาเลเซียจนกาว
เปนผูผลิตชั้นนําของโลก
4.2.6 กาแฟไทย
(1) ตนทุนการผลิต
สําหรับตนทุนการผลิตของไทยในปจจุบันยังคงมีระดับสูงกวาประเทศคูแขง
อยางเวียดนาม โดยเฉพาะตนทุนคาจางแรงงานของไทยที่สูงกวาเวียดนามและ
อินโดนีเซีย ทําใหกาแฟไทยไมสามารถแขงขันในตลาดโลกได นอกจากนั้นยังมี
AEC Prompt
106
สาเหตุจากการดูแลรักษาตนกาแฟไมถูกวิธีดวย เชน การใชปุยมากเกินไป การใช
ยากําจัดโรคและแมลงยังไมถูกตอง เปนตน สงผลใหเสียคาใชจายสูงและปริมาณ
ผลผลิตต่ํา
(2) คุณภาพกาแฟ
คุณภาพของเมล็ดกาแฟของไทยแมวาจะมีคุณภาพที่ดีกวาประเทศคูแขงทั้ง
จากเวียดนามและอินโดนีเซีย แตอยางไรก็ตามเมล็ดกาแฟของไทยยังคงพบวามี
ปญหาดานคุณภาพที่ไมสม่ําเสมอ เนื่องจากมีการเก็บเมล็ดสุกและไมสุกปะปนกัน
การนําผลกาแฟไปตากบนลานดินทําใหเมล็ดกาแฟดูดซับเอากลิ่นดินเขาไปใน
เมล็ด
(3) เวียดนามมีแนวโนมผลิตกาแฟเพิ่มขึ้นทําใหผลผลิตลนตลาด
จากการที่เวียดนามสามารถผลิตกาแฟไดมากเปนอันดับ 2 ของโลก รวมทั้งมี
นโยบายเพิ่มพื้นที่ปลูกมากขึ้นเรื่อยๆ จะยิ่งทําใหปริมาณผลผลิตกาแฟออกสู
ตลาดโลกเปนจํานวนมาก ทําใหเกิดภาวะสินคาลนตลาด และทําใหราคา
ตลาดโลกตกต่ําในที่สุด ผลจากราคาตกต่ํานี้จะยิ่งลดแรงจูงใจของผูปลูกกาแฟใน
ประเทศไทยมากขึ้น และอาจสงผลใหปริมาณการผลิตกาแฟในประเทศลดลง
4.3 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนตอสินคาเกษตรไทย
4.3.1 ขาว
จากเดิมกอนที่จะลดภาษีขาวเปน 0 ตามขอตกลงของประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียนในป 2553 การลักลอบนําเขาขาวจากประเทศเพื่อนบานอยางเชน ลาว
พมา และกัมพูชา มีจํานวนคอนขางมากอยูแลว ซึ่งเมื่อมีการเปดใหมีการนําเขา
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
107
ขาวอยางเสรีจากประเทศในกลุมอาเซียนดวยกัน ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นแนนอนคือ
การทะลักเขามาจํานวนมากของขาวจากประเทศเพื่อนบาน และสิ่งที่ทุกฝายกังวล
ก็คือเมื่อมีการนําเขาขาวจากเพื่อนบานอาจมีสารปนเปอนและมีการตัดแตง
พันธุกรรม (GMOs) โดยที่ไมสามารถแยกไดวามาจากไหน อาจเกิดการปลอมปน
ทําใหคุณภาพขาวของไทยดอยลง สวนในดานการคาเมื่อขาวของไทยมีราคาแพง
ผูซื้อหันไปนําเขาขาวจากประเทศเพื่อนบานที่ราคาถูกกวา สวนพอคาในประเทศ
บางสวนอาจนําเขาขาวจากประเทศเพื่อนบานแลวสงออก ซึ่งในสวนนี้อาจจะสงผล
กระทบตอเรื่องราคาขาวภายในประเทศของไทย
4.3.2 มันสําปะหลัง
การเปดเสรีทางการคาภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ไมสงผลกระทบ
ตอมันสําปะหลังของไทยมากนัก เนื่องจากในปจจุบันไทยเปนประเทศที่มีศักยภาพ
ในการผลิตและสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังไดมากที่สุดในอาเซียน โดยครอง
สวนแบงตลาดมากกวาประเทศคูแขงอยางเวียดนามและอินโดนีเซียคอนขางมาก
ประกอบกับไทยมีการพัฒนาในดานการผลิต ดานคุณภาพของผลิตภัณฑมัน
สําปะหลัง รวมไปถึงการพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิตและการแปรรูปมันสําปะหลัง
ในรูปแบบตางๆ ใหมีความหลากหลายมากขึ้นอยางตอเนื่อง ดังนั้นผลกระทบของ
ผลิตภัณฑมันสําปะหลังภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จึงเปนผลกระทางดาน
บวกมากกวาดานลบ ถึงแมวาการเปด AEC อาจจะทําใหมีการนําเขามันสําปะหลัง
จากประเทศเพื่อนบานอยางเชนกัมพูชา ลาว พมา มากขึ้น แตปริมาณการนําเขา
มันสําปะหลังจากประเทศเพื่อนบาน จะไมสงผลกระทบตอมันสําปะหลังของไทย
AEC Prompt
108
แตอยางใดเนื่องจากความตองการใชมันสําปะหลังของไทยในการสงออกมีจํานวน
มาก
4.3.3 ขาวโพดเลี้ยงสัตว
จากที่กลาวขางตนในดานการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยที่มีปริมาณการ
ผลิตยังไมเพียงพอตอความตองการใชในประเทศ ทําใหตองนําเขามาจาก
ตางประเทศดวยนั้น หากในป 2553 ที่อัตราภาษีนําเขาของประเทศอาเซียนลดลง
เหลือ 0% ซึ่งรวมถึงไทยดวยนั้น พบวาจะทําใหขาวโพดเลี้ยงสัตวจากประเทศ
อาเซียนเขามาในประเทศเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากมีความตองการนําเขาและราคาใน
ประเทศอยูในระดับสูง แตทั้งนี้ในระยะสั้นปริมาณการไหลเขามาในไทยของ
ขาวโพดเลี้ยงสัตวจากอาเซียนยังคงมีไมมากนัก เนื่องจากปริมาณการผลิตของ
ประเทศอาเซียนที่เปนผูผลิตหลักยังไมเพียงพอตอความตองการในประเทศของ
ตนเอง แตในระยะยาวแลวหากประเทศเหลานั้นมีการพัฒนาปริมาณผลผลิตตอไร
เพิ่มมากขึ้นแลว อาจสงผลใหปริมาณการนําเขาขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยจาก
อาเซียนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะทําใหสงผลกระทบตอราคาและเกษตรกรในประเทศได
ในที่สุด
4.3.4 ถั่วเหลือง
ปจจุบันผลผลิตถั่วเหลืองในประเทศไทยที่ยังมีไมเพียงพอตอความตองการ
ใชในประเทศ ทําใหเมื่อประเทศอาเซียนตองลดภาษีเปน 0% ในป 2553 จะทําให
ผูประกอบการแปรรูปผลิตภัณฑจากถั่วเหลืองสามารถนําเขาถั่วเหลืองและกากถั่ว
เหลืองไดในราคาที่ถูกลง ซึ่งในระยะสั้นอาจยังไมสงผลเสียตอเกษตรกรผูผลิต แต
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
109
ในระยะยาวอาจสงผลกระทบใหจํานวนผูผลิตถั่วเหลืองลดลงได เนื่องจากประเทศ
เพื่อนบาน เชน เวียดนาม ลาว เปนตน ในพื้นที่ตอนบนของประเทศมีสภาพอากาศ
ที่เหมาะสมในการผลิตถั่วเหลือง ซึ่งหากมีการพัฒนาการผลิตและผลผลิตตอไร ก็
จะยิ่งทําใหปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นมากและทะลักเขาสูประเทศไทยมากขึ้น
4.3.5 ปาลมน้ํามันและน้ํามันปาลม
ปาลมน้ํามันถือเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญอยางหนึ่งของเกษตรกรของไทย
โดยเฉพาะทางภาคใต รวมถึงยังสงผลใหไทยมีจุดแข็งในดานความมั่นคงทางดาน
อาหารประเภทน้ํามัน ซึ่งน้ํามันปาลมบริสุทธิ์ของไทยถือไดวามีมาตรฐานการผลิต
ที่สูงเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศผูผลิตปาลมน้ํามันและน้ํามันปาลมรายใหญของ
โลก เนื่องจากเปนน้ํามันที่มีลักษณะใส ไมมีตะกอน และไมเปนไข
สําหรับพันธกรณีการเปดตลาดสินคาสินคาน้ํามันปาลมนั้น ตามขอตกลง
เขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) สงผลใหไทยตองปรับ
ลดภาษีนําเขาน้ํามันปาลมดิบและน้ํามันปาลมบริสุทธิ์เหลือเพียงรอยละ 5 ในป
2546 จากภาษีภายใตองคการการคาโลกซึ่งเดิมอยูที่รอยละ 20 หากเปนภาษีที่อยู
ในโควตาการนําเขา และรอยละ 143 หากเปนภาษีที่อยูนอกโควตาการนําเขา และ
ในป 2548 ไดมีการยกเลิกมาตรการโควตาภาษีแลว แตใชมาตรการที่มิใชภาษี
NTB โดยการนําเขาตองยื่นนําเขาผานองคการคลังสินคา ทั้งนี้ตองขึ้นอยูกับ
ปริมาณสินคาที่มีอยูในประเทศ
สวนการปรับลดภาษีของ AFTA ภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในป
2553 ที่ตองปรับลดภาษีลงเหลือ รอยละ 0 นั้น น้ํามันปาลมของไทยตองเผชิญกับ
ภาษีดังกลาวดวยเชนกัน แตทั้งนี้การนําเขายังตองอยูภายใตการควบคุมดูแลของ
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4

Más contenido relacionado

Más de วิระศักดิ์ บัวคำ

2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 25492 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549วิระศักดิ์ บัวคำ
 
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่วิระศักดิ์ บัวคำ
 
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3วิระศักดิ์ บัวคำ
 
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)วิระศักดิ์ บัวคำ
 
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1วิระศักดิ์ บัวคำ
 
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...วิระศักดิ์ บัวคำ
 
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laosคู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laosวิระศักดิ์ บัวคำ
 
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmarคู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmarวิระศักดิ์ บัวคำ
 

Más de วิระศักดิ์ บัวคำ (20)

Chamber commerce issue2
Chamber commerce issue2Chamber commerce issue2
Chamber commerce issue2
 
ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
 
2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 25492 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
 
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
 
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
 
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
 
Form mr
Form mrForm mr
Form mr
 
Form mr
Form mrForm mr
Form mr
 
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
 
สถิติการค้า ไทย อาเซียน Total feb 56
สถิติการค้า ไทย อาเซียน Total feb 56สถิติการค้า ไทย อาเซียน Total feb 56
สถิติการค้า ไทย อาเซียน Total feb 56
 
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
 
บรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรมบรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรม
 
บรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรมบรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรม
 
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
 
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
 
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
 
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
 
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
 
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laosคู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
 
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmarคู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
 

นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4

  • 1. บทที่ 4 นโยบายสินคาเกษตรไทยเปรียบเทียบ กับประเทศเพื่อนบานและทางรอด 4.1 เปรียบเทียบนโยบายขาวของไทยและประเทศเพื่อนบาน 4.1.1 ขาว ในอาเซียนมีเพียง 5 ประเทศหลักเทานั้น ที่มีศักยภาพในการผลิตเพื่อการ สงออกขาว คือ ไทย เวียดนาม กัมพูชา พมา และลาว เพราะประเทศเหลานี้มีพื้นที่ มาก มีระบบชลประทาน และประชากรสวนใหญในประเทศประกอบอาชีพ เกษตรกรรมและยังยากจน โดยที่รัฐบาลของแตละประเทศไดพยายามกําหนด มาตรการและใหการชวยเหลือในรูปแบบตางๆกัน ตามแตกําลังความสามารถและ งบประมาณของแตละประเทศ ทําใหรัฐบาลของแตละประเทศไมอาจละเลย เกษตรกรได ดังนั้นจึงมีนโยบายเขามาชวยเหลือในดานตางๆ สามารถสรุปไดดังนี้ (1) นโยบายดานราคาขาว ปญหาสําคัญของประเทศผูผลิตขาว คือ ปญหาราคาขาวตกต่ํา ซึ่งปญหา ดังกลาวจะสงผลกระทบไปยังเกษตรกรผูผลิตโดยตรง ทําใหรัฐบาลของแตละ ประเทศตองออกนโยบายเขามาชวยเหลือเกษตรกร เวียดนามไมไดมีนโยบายเขา มาแทรกแซงหรือพยุงราคาขาวโดยตรง แตใชนโยบายทางออม เชนใหกระทรวง อุตสาหกรรมและการคาของเวียดนาม กําหนดราคาสงออกขาวขั้นต่ํา เพื่อปองกัน ไมใหผูสงออกขายขาวราคาต่ําเกินไป จนสงผลกระทบตอเกษตรกรที่จะถูกกดราคา รับซื้อ โดยราคาขั้นต่ําที่กําหนดนั้น จะกําหนดใหเหมาะสมกับจํานวนผลผลิตที่ ออกมาในแตละชวงของฤดูกาล และในกรณีที่ราคาขาวของโลกมีความผันผวน
  • 2. AEC Prompt 84 มาก รัฐก็จะใชนโยบายสงเสริมบริษัทรัฐวิสาหกิจ โดยใหเงินกูดอกเบี้ยต่ํามาชวยรับ ซื้อขาวเปลือกจากเกษตรกรมาสํารองไว เพื่อปองกันไมใหเกษตรกรถูกกดราคา ขาวเปลือก ในขณะที่ไทยมีนโยบายในการเขาไปพยุงราคาขาวโดยตรง ดวยการรับจํานํา 16 และประกันรายได17 ซึ่งการรับจํานําขาวเปลือกเปนมาตรการที่ดึงปริมาณขาว ออกจากตลาด โดยเฉพาะในชวงตนฤดูการผลิตที่จะมีปริมาณขาวออกสูตลาดเปน จํานวนมาก ในขณะที่การประกันรายได ปริมาณขาวทั้งหมดยังอยูในตลาด แต ราคาขาวในประเทศจะมีแนวโนมผันผวนมากกวาการใชมาตรการรับจํานําขาว อยางไรก็ตามการดําเนินมาตรการจํานําขาวที่ผานมาประสบกับปญหาหลายอยาง เชน การลักลอบนําเขาขาวจากประเทศเพื่อนบานเขามาสวมสิทธิ์ในการรับจํานํา การใชงบประมาณของรัฐที่สูงเกินจริง การบริหารจัดการที่ไมโปรงใส และขาด ประสิทธิภาพ นอกจากนี้การใชมาตรการดังกลาวยังทําใหราคาขาวในประเทศมี ราคาสูง สงผลกระทบไปถึงศักยภาพในการสงออกขาวของไทยลดลง และในป 2553 ตามกรอบขอตกลงของเขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) อัตราภาษีจะเหลือ รอยละ 0 หลายฝายมีความกังวลวาจะมีขาวจากลาว เวียดนาม และกัมพูชาทะลัก เขามาในไทยดังนั้นมาตรการการแทรกแซงราคาขาวดวยการประกันรายไดใหกับ เกษตรกรจึงเปนทางเลือกที่คาดวาจะลดปญหาการบริหารและการจัดการสต็อก ลดความเสี่ยงดานราคาและ เรื่องผลผลิตใหแกเกษตรกร ปองกันการสวมสิทธิขาว 16 โครงการรับจํานําขาว รัฐบาลตองจัดสรรงบประมาณใหเปนทุนสําหรับจํานําขาวมีขาวเปนหลักประกัน เมื่อสิ้นสุดระยะจํานํา (4 เดือน) หากราคาไม ขึ้นหรือขึ้นนอย เกษตรกรก็ปลอยหลุดจํานําไมไถถอน ขาวตกเปนของรัฐบาล โครงการรับจํานํารัฐมีเจตนาสรางดีมานดเทียมเพื่อรักษาเสถียรภาพราคา ขาวไวไมใหราคาตกต่ํามากจนเกษตรกรขาดทุน 17 โครงการประกันรายได รัฐบาลตองจัดสรรงบประมาณจายขาดเพื่อชดเชยสวนตางราคาขาวโดยไมมีตัวสินคาเขามาเกี่ยวของ เกษตรกรจะขายขาวทุก ราคาตามกลไกตลาดขณะที่ตลาดยังเปนของผูซื้อ
  • 3. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 85 จากประเทศเพื่อนบาน สําหรับในดานงบประมาณการใชจายของภาครัฐ ตอง เปรียบเทียบดูจากของจริง ระหวางนโยบายใหม (การประกันรายได) ซึ่งเริ่มใชใน เดือน ตุลาคม 2552 กับโครงการพยุงราคาแบบรับจํานําที่ใชในอดีต สําหรับประเทศกัมพูชา พมา และลาวนั้น รัฐบาลยังไมมีนโยบายในการ ชวยเหลือแกเกษตรกรในทุกๆ ดาน (2) นโยบายการเชาและถือครองที่ดินในการทําการเกษตรของ ตางชาติ ในปจจุบันกระแสขาวการเขามาเชาที่ทําการเกษตรในประเทศไทยของ ตางชาติ เปนที่กลาวถึงอยางมาก แตเมื่อพิจารณาตามพระราชบัญญัติการ ประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ.2542 ระบุไวชัดเจนวาคนตางชาติไมสามารถ เขามาลงทุนทําธุรกิจทํานา และเลี้ยงสัตวในประเทศไทยได เพราะถือเปนธุรกิจ ตองหามของคนตางชาติ ที่ถูกกําหนดไวในบัญชี 1 ใหสงวนสําหรับคนไทยเทานั้น ในขณะที่ประเทศไทยตอตานตานการเขามาเชาพื้นที่ทําการเกษตรของตางชาติ แตประเทศเพื่อนบานอยาง เวียดนาม ลาว พมา และกัมพูชา กลับมีนโยบาย สงเสริมใหตางชาติเขาไปเชาพื้นที่ทําการเกษตรในประเทศ โดยมีนโยบายใหเชา พื้นที่ดวยระยะเวลามากกวา 30 ป และสามารถสงผลผลิตทั้งหมดที่ผลิตไดกลับไป ยังประเทศของผูลงทุน ถึงแมจะมีนโยบายการเชาและถือครองที่ดินในการทํา การเกษตรของตางชาติที่ชัดเจน แตผูลงทุนสวนใหญกลับใหความสนใจที่จะลงทุน ในประเทศไทยมากกวา เนื่องจากประเทศเหลานั้นมีความเสี่ยงในเรื่องการเมือง การกําหนดนโยบาย ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลาไมมีมั่นคงในสายตา
  • 4. AEC Prompt 86 ของนักลงทุน ในขณะที่ไทยมีนโยบายหลายดานที่เอื้อกับการลงทุน มีระบบ โครงสรางพื้นฐานที่ดีกวาและไมมีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงดานนโยบาย 4.1.2 มันสําปะหลัง นโยบายของภาครัฐในการชวยเหลือเกษตรกรผูปลูกมันสําปะหลังของไทย สวนใหญเปนนโยบายและมาตรการแทรกแซงราคา ซึ่งดําเนินการโดยกระทรวง พาณิชย ทั้งนี้เพื่อบรรเทาปญหาความเดือดรอนของเกษตรกรในกรณีที่ราคามัน สําปะหลังตกต่ํา ซึ่งแสดงรายละเอียดเพิ่มเติมดังนี้ นโยบายการแทรกแซงราคามันสําปะหลังของไทย เปนนโยบายที่กระทรวง พาณิชยดําเนินการเพื่อบรรเทาความเดือนรอนของเกษตรกรอันเนื่องมาจากการ ผลิตมันสําปะหลังในป 2551/52 มีมากเกินความตองการ ทําใหราคาหัวมัน สําปะหลังสดลดลงมาอยูที่ประมาณกิโลกรัมละ 1.00-1.30 บาท ทําใหรัฐตอง ดําเนินการเขาไปแทรกแซงราคา โดยการรับจํานําหัวมันสําปะหลังสด ป 2551/52 เปนปริมาณ 13 ลานตัน ในราคากิโลกรัมละ 1.80-2.05 บาท ตั้งแตเดือน พฤศจิกายน 2551-เมษายน 2552 สําหรับป 2552/53 รัฐบาลมีนโยบายประกัน รายไดใหแกเกษตรกร โดยกําหนดราคาประกันหัวมันสดกิโลกรัมละ 1.70 บาท ซึ่งการ กําหนดราคาประกัน คํานวณจากตนทุนการผลิต บวกคาขนสงและกําไรใหแก เกษตรกร และจายคาสวนตางระหวางราคาหัวมันสดใหแกเกษตรกรในกรณีที่ราคา ตลาดอางอิงต่ํากวาราคาประกันโดยไมตองสงมอบสินคา ซึ่งจะทําใหเกษตรกรมี รายไดคุมตอการลงทุน สวนในประเทศอินโดนีเซีย เวียดนาม กัมพูชา พมา และลาว รัฐบาลไมมีนโยบายในการแทรกแซงตลาดแตอยางใด
  • 5. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 87 4.1.3 ขาวโพดเลี้ยงสัตว นโยบายดานการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยนั้น สวนใหญเปนนโยบาย และมาตรการแทรกแซงตลาด ซึ่งดําเนินการโดยกระทรวงพาณิชย ทั้งนี้เพื่อบรรเทา ปญหาความเดือดรอนของเกษตรกรในกรณีที่ราคาขาวโพดเลี้ยงสัตวตกต่ํา นอกจากนั้นยังมีมาตรการเพื่อแกปญหาระยะยาวใหแกภาคการผลิตขาวโพดเลี้ยง สัตวไทยโดยแนวทางการปรับโครงการสรางการผลิต การตลาด และมาตรการ นําเขาขาวโพดเลี้ยงสัตว สําหรับนโยบายของอินโดนีเซียนั้น กระทรวงเกษตรของ อินโดนีเซียไดออกกฎกระทรวงเกษตรเรื่อง การควบคุมความปลอดภัยอาหารจาก พืชที่นําเขาและสงออก และนโยบายเพื่อรักษาความมั่นคงทางดานอาหาร ซึ่งแสดง รายละเอียดเพิ่มเติมไดดังนี้ (1) นโยบายการแทรกแซงตลาด นโยบายการแทรกแซงตลาดขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทย เปนนโยบายที่ กระทรวงพาณิชยดําเนินการเพื่อบรรเทาความเดือนรอนของเกษตรกรอัน เนื่องมาจากราคาขาวโพดเลี้ยงสัตวตกต่ํา ซึ่งมีการดําเนินนโยบายมาโดยตลอด ตั้งแต ป 2537 จนถึงปจจุบัน นโยบายการแทรกแซงตลาดที่รัฐบาลเลือกดําเนินการ คือการรับจํานําขาวโพดเลี้ยงสัตว โดยในป 2548 ไดมีการรับจํานําขาวโพดเมล็ด ความชื้นไมเกิน 30.0% จากเกษตรกรรายบุคคลปริมาณ 5 แสนตัน โดยกําหนด ราคารับจํานําขาวโพดเมล็ดความชื้น 14.5% เดือนกันยายน-พฤศจิกายน 2548 กิโลกรัมละ 4.75 บาท และเดือนธันวาคม 2548-มกราคม 2549 กิโลกรัมละ 5.00 บาท ระยะเวลาไถถอนภายใน 3 เดือน นับถัดจากเดือนที่รับจํานํา ตอมาในป 2551 รัฐบาลไดมีการดําเนินโครงการแทรกแซงตลาดขาวโพดเลี้ยงสัตวโดยการรับจํานํา
  • 6. AEC Prompt 88 ขาวโพดปริมาณ 1.5 ลานตัน โดยกําหนดราคารับจํานําขาวโพดเมล็ดความชื้น 14.5% กิโลกรัมละ 8.50 บาท มีระยะเวลาไถถอนภายใน 3 เดือนนับจากเดือนที่รับ จํานํา สําหรับนโยบายแทรกแซงตลาดในป 2552 นั้น รัฐบาลมีแนวทางในการ ดําเนินโครงการประกันราคาขาวโพดเลี้ยงสัตว โดย 1) กําหนดราคาประกัน ขาวโพดเมล็ดความชื้น 14.5% กิโลกรัมละ 7.10 บาท 2) กําหนดเปาหมายให เกษตรกรรายครัวเรือนใชสิทธิเพื่อขอรับเงินชดเชยสวนตางราคาประกันกับราคา ตลาดอางอิงไดในปริมาณที่ผลิตจริงแตไมเกินครัวเรือนละ 20 ตัน ธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธกส.) ทําสัญญากับเกษตรกรที่ประสงคจะเขา รวมโครงการฯ เดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน 2552 และ 3) เกษตรกรใชสิทธิประกัน ราคาไดหลังจากวันทําสัญญา 15 วัน แตไมเกิน 3 เดือนนับจากวันทําสัญญา และ ตองไมเกิน 28 กุมภาพันธ 255318 (2) นโยบายดานการผลิตและการตลาด กระทรวงพาณิชยและกระทรวงเกษตรและสหกรณของไทย ไดรวมกันจัดทํา ยุทธศาสตรการปรับโครงการสรางการผลิตและการตลาดขาวโพดเลี้ยงสัตวตาม แผนบริหารราชการแผนดิน ป 2548-2551 เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน สรางมูลคาเพิ่ม และทําใหเกษตรกรมีรายไดจากการขยายผลผลิตในราคาที่ เหมาะสม เปนธรรม โดยมีแนวทาง ดังนี้ 18 สํานักสงเสริมการคาสินคาเกษตร กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย (กันยายน 2552)
  • 7. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 89 1) ดานการผลิต 1.1) พัฒนาและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทั้งดานเทคโนโลยี และสายพันธุขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ศักยภาพไมเกิน 7 ลานไร เพื่อใหผลผลิตตอ ไรเพิ่มขึ้นและลดตนทุนการผลิต 1.2) พัฒนาและปรับปรุงคุณภาพขาวโพดเลี้ยงสัตวโดยการถายทอด เทคโนโลยีและวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวที่ถูกตองใหแกเกษตรกร สถาบัน การเกษตร เพื่อใหไดผลผลิตที่มีคุณภาพ และมีรายไดเพิ่มขึ้น 1.3) เพิ่มมูลคาขาวโพดเลี้ยงสัตว โดยสงเสริมการเพิ่มรายไดจากเศษ วัสดุเหลือใชเพื่อเปนการสรางรายไดและเสริมสรางความเขมแข็งภายในชุมชน 2) ดานการตลาด 2.1) จัดระบบการคาและระบบกํากับดูแลเพื่อรักษาความเปนธรรมทาง การคา 2.2) สงเสริมการซื้อขายขาวโพดเลี้ยงสัตวในระบบตลาดขอตกลงและ เชื่อมโยงการทําสัญญาขอตกลงระหวางผูซื้อ/ผูขาย 2.3) สรางเครือขายเชื่อมโยงตลาดผลผลิตคุณภาพดีเพื่อเพิ่มอํานาจ ตอรองใหเกษตรกรสามารถขายผลผลิตไดราคาสูงขึ้น และจูงใจใหมีการพัฒนา คุณภาพขาวโพดเลี้ยงสัตว สําหรับนโยบายดานการผลิตของอินโดนีเซียนั้น พบวารัฐบาลอินโดนีเซียให ความสําคัญในการรักษาความมั่นคงทางอาหาร นั่นคือรักษาเสถียรภาพของ ปริมาณการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวใหเพียงพอตอความตองการในประเทศ โดยมี นโยบายที่เกี่ยวของ เชน นโยบายการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เพื่อรักษาปริมาณ
  • 8. AEC Prompt 90 และคุณภาพของขาวโพดไมใหลดลง โดยเฉพาะอยางยิ่งการจัดการน้ําใหเพียงพอ ในพื้นที่เพาะปลูก นโยบายการพัฒนากลุม/สถาบันเกษตรกร นโยบายการเพิ่ม ศักยภาพการสงเสริมการเกษตรและการเพิ่มศักยภาพของเกษตรกรในการเขาถึง ตลาด19 (3) นโยบายและมาตรการนําเขาขาวโพดเลี้ยงสัตว นโยบายและมาตรการนําเขาขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยในป 2552 มีการ กําหนดเชนเดียวกับป 2551 โดยสําหรับมาตรการนําเขาขาวโพดเลี้ยงสัตวที่ เกี่ยวของกับอาเซียนมีดังนี้ 1) มาตรการตามขอผูกพัน AFTA กําหนดอัตราภาษีนําเขา 5.0% หรือ กิโลกรัมละ 2.75 บาท 2) มาตรการตามขอผูกพันยุทธศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี- เจาพระยา-แมโขง หรือ (Ayeyawady-Chao Phraya-Mekong Economic Cooperation Strategy : ACMECS) กําหนดอัตราภาษีนําเขารอยละ 0 ทั้งขาวโพดในโครงการ Contract Farming และนอกโครงการ และผูมี สิทธินําเขาตองจดทะเบียนเปนผูนําเขากับกรมการคาตางประเทศ และ ตองรายงานการนําเขาตามที่กําหนดเปนประจําทุกเดือน20 นโยบายนําเขาของอินโดนีเซียนั้น ขณะนี้กระทรวงเกษตรของอินโดนีเซียได ออกกฎกระทรวงเกษตร เรื่อง “การควบคุมความปลอดภัยอาหารจากพืชที่นําเขา และสงออก” เริ่มมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 19 พฤศจิกายน 2552 เปนตนไป โดย 19 ผลการประชุมคณะรัฐมนตรี วันที่ 8 กันยายน 2552เรื่อง “รายงานผลการเดินทางไปราชการตางประเทศของรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ” 20 สํานักสงเสริมการคาสินคาเกษตร กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย (กันยายน 2552)
  • 9. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 91 กําหนดใหผูที่จะสงออกสินคาพืชซึ่งรวมถึงขาวโพดเลี้ยงสัตวดวย ตองตรวจสอบ สารพิษตกคาง สารอะฟลาทอกซิน และโลหะหนัก เชน แคดเมียม และตะกั่ว เปน ตน21 นโยบายนี้อาจมีผลกระทบทําใหการสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยไปยัง อินโดนีเซียลดลงได22 4.1.4 ถั่วเหลือง นโยบายดานการนําเขาถั่วเหลืองของประเทศไทยนั้น พบวามีการกําหนด นโยบายและมาตรการนําเขาเมล็ดถั่วเหลืองเปนอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ น้ํามันพืชและพืชน้ํามัน ซึ่งกําหนดใหประเทศไทยเปดตลาดนําเขาเมล็ดถั่วเหลือง ป 2549 ตามมติคณะกรรมการพืชน้ํามันและน้ํามันพืช ดังนี้ (1) ใหนําเขาไมจํากัดปริมาณ และชวงเวลานําเขา อากรนําเขาในโควตา รอยละ 0 นอกโควตา รอยละ 80 (2) ผูมีสิทธินําเขาในโควตา รวม 13 ราย คือ สมาคมผูผลิตน้ํามันถั่วเหลือง และรําขาว สมาคมผูผลิตอาหารสัตวไทย สมาคมปศุสัตวไทย สมาคมผูเลี้ยงไกเนื้อ เพื่อการสงออก สมาคมสงเสริมผูใชวัตถุดิบอาหารสัตว สมาคมผูผลิตไกเพื่อ สงออกไทย สมาคมผูคาสินคาเกษตรกับประเทศเพื่อนบาน บริษัท กรีนสปอรต (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท แลคตาซอย จํากัด บริษัท ไทยเทพรสผลิตภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) บริษัท แดรี่พลัส จํากัด บริษัท ไทยชิม จํากัด และหางหุนสวน จํากัด คิคโคเคน หากมีผูยื่นขอสิทธินําเขารายใหมใหฝายเลขานุการคณะกรรมการ พืชน้ํามันและน้ํามันพืช (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร) เปนผูพิจารณาและแจง คณะกรรมการทราบ 21 ขาวโพดตองตรวจสอบสารตกคางและโลหะหนักประมาณ 20รายการ 22 “อินโดฯคุมเขมนําเขาสินคาเกษตร” หนังสือพิมพเดลินิวส วันอังคาร ที่ 8 กันยายน 2552
  • 10. AEC Prompt 92 (3) ผูมีสิทธินําเขาในโควตาตองรับซื้อเมล็ดถั่วเหลืองที่ผลิตในประเทศจาก เกษตรกรทั้งหมด ดังนี้ - ถั่วเหลืองเกรดสกัดน้ํามัน ราคาไมต่ํากวา กก.ละ 12.25 บาท ณ ไรนา หรือ 13.00 บาท ณ หนาโรงงาน ตลาดกรุงเทพมหานคร - ถั่วเหลืองเกรดผลิตอาหารสัตว ราคาไมต่ํากวา กก.ละ 12.50 บาท ณ ไรนา หรือ 13.25 บาท ณ หนาโรงงาน ตลาดกรุงเทพมหานคร - ถั่วเหลืองเกรดแปรรูปผลิตภัณฑอาหาร ราคาไมต่ํากวา กก.ละ 14.50 บาท ณ ไรนา หรือ 15.25 บาท ณ หนาโรงงาน ตลาดกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ผูมีสิทธินําเขาในโควตาตองทําสัญญารับซื้อเมล็ดถั่วเหลือง ภายในประเทศกับกระทรวงเกษตรและสหกรณและกระทรวงพาณิชย นอกจากนี้คณะกรรมการพืชน้ํามันและน้ํามันพืช ไดแตงตั้ง คณะอนุกรรมการกํากับ ดูแลเมล็ดถั่วเหลือง เพื่อกํากับดูแลและติดตามการรับซื้อ เมล็ดถั่วเหลืองที่ผลิตในประเทศ การใชเมล็ดถั่วเหลืองนําเขาของผูมีสิทธินําเขา เมล็ดถั่วเหลืองในโควตาใหเปนไปตามนโยบาย เงื่อนไข และมาตรการนําเขาเมล็ด ถั่วเหลือง ตามมติคณะกรรมการพืชน้ํามันและน้ํามันพืช และที่ทางราชการกําหนด โดยมี เลขาธิการสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร เปนประธาน ผูแทนจากหนวยงาน ราชการ และเอกชนที่เกี่ยวของ เปนอนุกรรมการ และผูอํานวยการสํานักวิจัย เศรษฐกิจการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร เปนอนุกรรมการและ เลขานุการ (ที่มา: สํานักสงเสริมการคาสินคาเกษตร กรมการคาภายใน กระทรวง พาณิชย)
  • 11. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 93 4.1.5 ปาลมน้ํามันและน้ํามันปาลม เมื่อพิจารณาในภาพรวมของนโยบายในภาพรวมของประเทศไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ซึ่งเปนผูผลิตปาลมน้ํามันและน้ํามันปาลมรายใหญของ โลกแลว จะพบวานโยบายของไทยเปนไปเพื่อควบคุมการนําเขาเพื่อปกปอง อุตสาหกรรมน้ํามันปาลมในประเทศ สวนนโยบายอื่นๆ และองคกรควบคุมกํากับ นโยบายที่ยังไมชัดเจน ในขณะที่ในมาเลเซียรัฐบาลใหการสนับสนุนรวมถึงการดูแลและควบคุม ตั้งแตการปลูกจนถึงการสงออก สนับสนุนการเพิ่มมูลคาใหกับน้ํามันปาลมใหมี มูลคาสูงขึ้น เชน เคมีภัณฑจากน้ํามันปาลม และมีนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพ ราคาผลผลิต โดยการกําหนดใหมีสต็อกไมเกิน 1 ลานตันตอเดือน อีกทั้งยังมี Malaysian Palm Oil Board (MPOB) เปนองคกรระดับชาติในการควบคุมดูแล สวนนโยบายของอินโดนีเซียนั้นไดมีการสนับสนุนใหชาวตางชาติเขามา ลงทุนในธุรกิจปาลมน้ํามัน และสนับสนุนการสงออกน้ํามันปาลมที่มีมูลคาสูง จน ทําใหอินโดนีเซียกาวขึ้นมาเปนผูผลิตปาลมน้ํามันอันดับ 1 ของโลก 4.1.6 กาแฟ สําหรับนโยบายสงเสริมและสนับสนุนดานกาแฟของประเทศไทยและ ประเทศเพื่อนบานที่เปนผูผลิตสําคัญ คือ เวียดนามและอินโดนีเซียนั้น สามารถ สรุปไดดังนี้ (1) นโยบายดานการปลูกกาแฟ นโยบายดานการปลูกกาแฟของประเทศไทยนั้น ปจจุบันเปนการเนนดาน คุณภาพของเมล็ดกาแฟและปริมาณผลผลิตตอไรมากกวาสงเสริมใหเพิ่มพื้นที่ปลูก
  • 12. AEC Prompt 94 กาแฟ โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณไดกําหนดใหหนวยงานที่เกี่ยวของสงเสริม ใหเกษตรกรผูปลูกกาแฟหันไปปลูกกาแฟคุณภาพดีซึ่งมีราคาสูงกวา และชวงชิง สวนแบงทางการตลาดของกาแฟคุณภาพนี้ รวมทั้งมีมาตรการเพิ่มปริมาณผลผลิต เมล็ดกาแฟตอไรใหเพิ่มสูงขึ้นและมีตนทุนลดลง โดยการปรับโครงสรางการผลิต ปรับปรุงสูตรการใสปุย และการพัฒนาสายพันธุเมล็ดกาแฟ สําหรับนโยบายดานการปลูกกาแฟของประเทศเวียดนามนั้น พบวาในชวงที่ ผานมาราคาเมล็ดกาแฟในตลาดโลกผันผวนและตกต่ําทําใหรัฐบาลเวียดนามหัน มาสงเสริมดานการพัฒนาประสิทธิภาพของการปลูกกาแฟมากยิ่งขึ้น ดังนี้ - กําหนดมาตรฐานของเมล็ดกาแฟที่ชัดเจนเพื่อสรางความเชื่อมั่นใหแก ผูบริโภคและลูกคา เชน การประกาศมาตรฐานคุณภาพเมล็ดกาแฟ TCVN 4193 : 2001 ในป 2544 และปรับปรุงมาตรฐานคุณภาพเมล็ด กาแฟใหม คือ TCVN 9193 : 2001 ในป 2545 เปนตน - นโยบายลดพื้นที่ปลูกกาแฟพันธุโรบัสตาในพื้นที่ที่ไมเหมาะสม และเพิ่ม พื้นที่ปลูกกาแฟพันธุอาราบิกาในพื้นที่ที่เหมาะสมแทนเนื่องจากมีราคา ดีกวา - คิดคนและวิจัยพันธุกาแฟใหมๆ ที่ใหปริมาณผลผลิตสูงกวา คุณภาพ ดีกวา และการวิจัยความเปนกรด-ดางของดินในระดับที่มีประสิทธิภาพ มากที่สุด นั่นคือมีการใชปุยนอยลงแตใหปริมาณผลผลิตเทาเดิม - สงเสริมการผลิตกาแฟปลอดสารเคมี โดยเฉพาะในพื้นที่เพาะปลูกทาง ตอนเหนือที่อยูในเขตภูเขา มีความเหมาะสมในการปลูกกาแฟโดยไม จําเปนตองใสปุยหรือยาฆาแมลง
  • 13. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 95 - นโยบายเพิ่มการลงทุนของรัฐบาลดานการขยายการใหบริการแก ผูประกอบการรายยอยในชนบท และการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานใน พื้นที่ชนบทใหดียิ่งขึ้น เพื่ออํานวยความสะดวกดานการเพาะปลูกและการ ขนสงกาแฟ - สมาคมกาแฟเวียดนามไดทําความตกลงกับทางการแขวงจําปาสักของ ลาวเพื่อปลูกกาแฟพันธุอาราบิกาในพื้นที่กวา 60,000 ไรในเขตเมืองปาก ซอง (ป 2550) โดยเปนบริษัทรวมทุนของสองประเทศเพื่อปลูกกาแฟ คุณภาพดีของลาว ซึ่งผลผลิตจากที่แหงนี้จะสงออกไปยังสหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา แตเนื่องจากเนื้อที่เพาะปลูกมีจํากัดและขาดแรงงาน ทองถิ่นทําใหไมสามารถขยายการผลิตไดตามที่ตกลง โดยทางการแขวง ไดสัญญาจะจัดหาพื้นที่ประมาณ 18,000-30,000 ไร ใหแกบริษัทกาแฟ รวมทุนเวียดนาม-ลาวดังกลาว สวนนโยบายดานการปลูกกาแฟของอินโดนีเซียนั้น พบวามีมาตรการสงเสริม ใหมีปริมาณการผลิตเมล็ดกาแฟภายในประเทศใหมากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพาการ นําเขาเมล็ดกาแฟจากตางประเทศ รวมทั้งมีนโยบายสนับสนุนดานการขยายพื้นที่ การปลูกกาแฟพันธุอาราบิกาในพื้นที่เกาะสุมาตรา เพื่อเพิ่มมูลคาการสงออก แทนที่กาแฟพันธุโรบัสตาที่มีราคาต่ํากวา (2) นโยบายดานการนําเขาเมล็ดกาแฟ เนื่องจากเมล็ดกาแฟจัดอยูในบัญชีสินคาออนไหวของไทย ที่กําหนดใหลด อัตราภาษีเหลือรอยละ 5 ในป 2553 ซึ่งจากการลดอัตราภาษีนี้สงผลใหรัฐบาลไทย มีมาตรการรับมือกับผลกระทบของการทะลักเขามาของเมล็ดกาแฟจาก
  • 14. AEC Prompt 96 ตางประเทศ โดยกําหนดใหองคการคลังสินคา (อคส.) หรือผูประกอบการที่เปนนิติ บุคคล เปนผูนําเขาภายใตเงื่อนไขและการกํากับดูแลของคณะอนุกรรมการพืชสวน ภายใตคณะกรรมการนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ เงื่อนไขก็คือ กําหนดใหมีการนําเขาเมล็ดกาแฟในชวงพฤษภาคม-สิงหาคมของทุกป และใชเปน วัตถุดิบในการแปรรูปเทานั้น หามจําหนายหรือจายแจกเปนวัตถุดิบภายในประเทศ อีกทั้งกําหนดใหผูมีสิทธินําเขาเมล็ดกาแฟตองรับซื้อเมล็ดกาแฟในประเทศใน ฤดูกาลถัดไปตามปริมาณนําเขานั้นดวย โดยจะตองรับซื้อตามราคาตลาดโลก หรือ หากราคาตลาดโลกตกต่ําใหรับซื้อในราคาตนทุนการผลิตบวก 20% รวมถึง มาตรการเขมงวดดานสุขอนามัยพืชที่เปนการกําหนดในดานโรคพืชและแมลง และ มาตรการที่มิใชภาษี (Non-Tariff Measures : NTM) ที่เปนการกําหนดมาตรฐาน และสารปนเปอนดวย (3) นโยบายดานราคาเมล็ดกาแฟ ในอดีตประเทศไทยเคยดําเนินมาตรการแทรกแซงราคาเมล็ดกาแฟ ดําเนินการรับจํานําเมล็ดกาแฟพันธุโรบัสตาจากเกษตรกรรายยอยในจังหวัดแหลง ผลิต แตในปจจุบันไมไดดําเนินมาตรการดังกลาวแลวเนื่องจากราคาเมล็ดกาแฟใน ตลาดโลกสูงขึ้น รวมทั้งการพัฒนาเครือขายเกษตรกรชาวสวนกาแฟกับผูประกอบ กิจการแปรรูปกาแฟใหสามารถกําหนดราคาซื้อ-ขายที่เหมาะสมไดเอง
  • 15. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 97 4.2 ปญหาสินคาเกษตรไทยในตลาดอาเซียน 4.2.1 ขาว ถึงแมปจจุบันประเทศไทยจะยังคงครองอันดับ 1 ในการสงออกขาวใน ตลาดโลก แตสําหรับตลาดอาเซียนนั้นคงตองยอมรับวาในชวงหลายปที่ผานมา ไทยไดเสียตลาดขาวสวนใหญใหกับประเทศเพื่อนบานอยางเวียดนาม และยังเสีย ตลาดบางสวนใหกับกัมพูชา พมา และลาว ซึ่งปญหาของขาวไทยในตลาดอาเซียน เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบาน สามารถสรุปไดดังนี้ (1) ตนทุนการผลิตตอไรสูง แตผลผลิตตอไรต่ํา ปญหาดานตนทุนการผลิตและผลผลิตตอไร เปนปญหาที่สงผลกระทบ โดยตรงตอศักยภาพในการสงออกขาวของไทยในตลาดอาเซียน เพราะเมื่อ เปรียบเทียบตนทุนการผลิตตอไรของไทยกับเวียดนาม ขอมูลจากสมาคมชาวนา ไทย ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2552 ราคาตนทุนการผลิตตอไรของไทยอยูที่ 5,950 บาท ในขณะที่เวียดนามมีตนทุนการผลิตตอไรใกลเคียงกับของไทย สวนตนทุนการ ผลิตของพมานั้นต่ํากวาของไทยคอนขางมาก โดยการผลิตขาวที่ใชแรงคนตนทุน การผลิตจะอยูที่ 2,000 บาทตอไร แตถามีเครื่องจักรเขามาชวยตนทุนการผลิตจะ อยูที่ 3,000 บาทตอไร ซึ่งผลผลิตตอไรของไทยกับเวียดนามเมื่อเปรียบเทียบกัน แลว พบวาเวียดนามมีผลผลิตตอไรสูงกวาไทยคอนขางมาก โดยเมื่อพิจารณา ขอมูลชวงป 2549/50-2552/53 จะเห็นวาเวียดนามมีผลผลิตตอไรสูงถึง 782.4- 796.0 กิโลกรัมตอไร ในขณะที่ไทยมีผลผลิตตอไรเพียง 441.6-452.8 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 6)
  • 16. AEC Prompt 98 (2) ระบบชลประทานในพื้นที่เพาะปลูกมีจํากัด จากรายงานขอมูลพื้นฐานเศรษฐกิจการเกษตร ของสํานักงานเศรษฐกิจ การเกษตร ป 2551 พบวาในปจจุบันมีระบบชลประทานอยูในพื้นที่เพาะปลูกขาว เพียงรอยละ 32 ของพื้นที่ปลูกขาวทั้งหมดของประเทศ สวนอีกรอยละ 68 ตอง พึ่งพาน้ําฝนเปนหลัก ซึ่งพื้นที่ปลูกขาวที่ไมมีระบบชลประทานสวนใหญจะอยูใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือของไทย ในขณะที่เวียดนามมีระบบ ชลประทานกระจายอยูในพื้นที่เพาะปลูกมากถึงรอยละ 50 ของพื้นที่เพาะปลูกขาว ทั่วประเทศ ทําใหเกษตรกรที่อยูในเขตชลประทานสามารถปลูกขาวได 2-3 ครั้งตอ ป (3) งบประมาณการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการผลิตขาวนอยเกินไป ในปจจุบันรัฐบาลไทยไมไดใหความสําคัญเทาที่ควรกับการวิจัยและพัฒนา เพื่อปรับปรุงพันธุขาว รวมไปถึงเทคโนโลยีในการเพาะปลูก และการพัฒนาความรู ความสามารถใหกับเกษตรกรผูปลูกขาว เห็นไดจากการกําหนดนโยบายและการ จัดสรรงบประมาณของรัฐบาล ซึ่งรัฐบาลใหความสําคัญกับนโยบายดานราคาขาว มากกวาที่จะสนับสนุนดานการพัฒนาและการวิจัย โดยงบประมาณที่ไดมาสําหรับ การวิจัยและพัฒนาขาวของไทย อยูในหลักรอยลานบาทตอปเทานั้น ในขณะที่ ประเทศคูแขงที่สําคัญอยางเวียดนาม รัฐบาลเวียดนามใหความสําคัญกับเรื่องนี้ เปนอยางมาก โดยทุมงบประมาณหลายพันลานบาทตอป ในการสนับสนุนการ วิจัยและพัฒนาพันธุขาวอยางตอเนื่อง รวมไปถึงการใหความชวยเหลือแก เกษตรกรในการเพิ่มปริมาณผลผลิต สนับสนุนการขยายพันธุขาวใหมๆ ที่ใหผล ผลิตสูงและใชเวลาสั้นลงในการเพาะปลูก อีกทั้งใหความสําคัญกับการพัฒนา
  • 17. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 99 พื้นที่เพาะปลูกใหมีศักยภาพมากขึ้น เพื่อใหเอื้อตอการปลูกขาวเพื่อการสงออกเปน การเฉพาะ จากปจจัยดังกลาวทําใหเวียดนามสามารถพัฒนาดานการผลิตขาวได อยางรวดเร็ว (4) ราคาสงออกขาวไทยสูงกวาประเทศเพื่อนบาน เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบราคาสงออกขาวของไทยกับประเทศเพื่อนบานใน อาเซียนที่สามารถผลิตและสงออกขาวทั้งพมา ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ราคา ขาวของไทยถือวาอยูในระดับที่คอนขางสูง โดยเฉพะเมื่อเปรียบเทียบกับเวียดนาม ซึ่งเปนคูแขงที่สําคัญของไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก จะเห็นวาในราคา สงออกขาวของเวียดนามต่ํากวาไทยคอนขางมาก เห็นไดจากราคาขาวสารชนิด 5% ในป 2550 ราคาขาวของเวียดนามต่ํากวาไทยอยูเพียง 20 เหรียญสหรัฐฯ ตอตัน แตในป 2552 (ม.ค.-มิ.ย.) ราคาสงออกขาวของเวียดนามต่ํากวาไทยถึง 169 เหรียญสหรัฐฯตอตัน ซึ่งจากราคาขาวของเวียดนามที่ต่ํากวาไทยคอนขางมาก ถือวาเปนจุดแข็งและจุดขายที่ทําใหเวียดนามสามารถแยงตลาดขาวในหลาย ประเทศทั้งในและนอกอาเซียนจากไทย (ตารางที่ 43) ตารางที่ 43 เปรียบเทียบราคาสงออกขาวระหวางไทยกับเวียดนาม (FOB) หนวย: เหรียญสหรัฐฯ/ตัน ไทย เวียดนาม รายการ 2550 2551 2552 (ม.ค.-มิ.ย.) 2550 2551 2552 (ม.ค.-มิ.ย.) ขาวสารชนิด 5% 333* 691* 601* 313 614 432 ขาวสารชนิด 25% 305 603 469 294 553 383 หมายเหตุ: * เปนขอมูลจาก USDA, Rice Outlook, September, 2009. ที่มา: FAO, Rice Market Monitor, collected from Jackson Son & Co. (London) Ltd. and other public sources. 2009.
  • 18. AEC Prompt 100 (5) ขาดการประชาสัมพันธในการสรางตราสินคาขาวไทยในตลาด อาเซียนและตลาดโลก รัฐบาลยังไมมีการประชาสัมพันธในสินคาขาวไทยและผลิตภัณฑที่ทําจาก ขาว ในประเทศอาเซียนมากนัก ถึงแมวาที่ผานมารัฐบาลจะมีการจัดโรดโชวขาว ไทยในประเทศตางๆ ทั้งในอาเซียนและนอกอาเซียนบาง แตก็ยังไมเพียงพอที่จะทํา ใหขาวไทยเปนที่รูจักในกลุมผูบริโภคในตางประเทศ ที่สําคัญยังขาดยุทธศาสตรเชิง รุกและงบประมาณในการสนับสนุน (6) ระบบและตนทุนขนสง ตนทุนการขนสงขาวของไทยอยูในระดับที่คอนขางสูงเมื่อเทียบกับประเทศ เพื่อนบานโดยเฉพาะเวียดนาม เนื่องจากโดยโครงสรางการทําการเกษตร (ปลูก ขาว) ของไทยสวนใหญใชการขนสงทางถนนเปนหลัก รองลงมาเปนทางเรือและ ทางรถไฟ เพราะไทยมีระบบการขนสงทางถนนที่ดี ทําใหสะดวกและรวดเร็วแต ตนทุนจะสูง ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับเวียดนาม โดยโครงสรางของพื้นที่ในบริเวณ สามเหลี่ยมปากแมน้ําโขงจะพึ่งระบบทางน้ําเปนหลัก ทําใหมีตนทุนการขนสงที่ถูก กวาไทย แตจะเกิดความลาชาและไมคอยสะดวกโดยเฉพาะการรวบรวมผลผลิต จํานวนมากๆ ในคราวเดียวกัน แตทั้งนี้รัฐบาลของเวียดนามไดใหความสําคัญกับ การสรางทาเรือไวสําหรับรองรับการขนสงขาวเฉพาะ โดยไดสรางทาเรือและ จัดระบบขนสงทางน้ําไวในพื้นที่ๆ มีการเพาะปลูกขาวที่สําคัญของประเทศเพื่อ รองรับการขนสงขาวภายในประเทศและขนสงตอไปยังตางประเทศ ทําใหตนทุน การขนสงขาวของเวียดนามต่ํากวาของไทยและประเทศเพื่อนบาน
  • 19. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 101 (7) ไมมีนโยบายและยุทธศาสตรขาวที่ชัดเจนภายใตประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ในขณะที่สินคาขาวของไทยตองลดภาษีเปน 0 ในกรอบของ AFTA และ กรอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในวันที่ 1 มกราคม 2553 นี้ ในขณะ ที่ประเทศอื่นๆ ในอาเซียนไมไดลดภาษี แตจัดขาวอยูในรายการสินคาออนไหวที่ ตองดูแลเปนพิเศษ ซึ่งรัฐยังไมมีนโยบายหรือยุทธศาสตรของประเทศที่ชัดเจนใน การกําหนดทิศทางของขาวไทย ทําใหการดําเนินงานของหนวยงานที่เกี่ยวของทั้ง ทางดานการวิจัยและการพัฒนา รวมไปถึงการสงเสริมของหนวยงานตางๆ ทั้ง ภาครัฐและเอกชนขาดประสิทธิภาพ และไมเปนไปในทิศทางเดียวกัน 4.2.2 มันสําปะหลัง ปญหามันสําปะหลังของไทยในตลาดอาเซียนมีนอยมาก เนื่องจากในตลาด อาเซียนไทยเปนประเทศที่มีศักยภาพในการผลิต และความสามารถในการสงออก ผลิตภัณฑมันสําปะหลังสูงกวาประเทศคูแขงอยางอินโดนีเซียและเวียดนาม คอนขางมาก ดังนั้นในตลาดอาเซียนคูแขงที่แทจริงของไทยคือการแขงกับตัวเองใน การพัฒนาศักยภาพการผลิต การพัฒนาการแปรรูปมันสําปะหลังออกมาใน รูปแบบตางๆ เพื่อที่จะรักษาตลาดผลิตภัณฑเดิมและขยายตลาดผลิตภัณฑใหมๆ 4.2.3 ขาวโพดเลี้ยงสัตว ขาวโพดเลี้ยงสัตวของประเทศไทยในตลาดอาเซียนนั้น แมวาจะมีปริมาณ ผลผลิตเฉลี่ยตอไรที่เทียบกับประเทศอาเซียนแลวอยูที่อันดับ 2 รองจากประเทศ ลาว แตเมื่อพิจารณาปริมาณการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว จะพบวาอยูในอันดับ 3 รองลงมาจากประเทศอินโดนีเซียและฟลิปปนส เนื่องจากทั้ง 2 ประเทศนี้มีเนื้อที่
  • 20. AEC Prompt 102 เพาะปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวมากกวาประเทศไทย รวมทั้งปญหาดานอื่นๆ ซึ่งสรุปได ดังนี้ (1) ปญหาแนวโนมการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยลดลง พื้นที่เพาะปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในประเทศไทยมีแนวโนมลดลงเรื่อยมา ซึ่ง มีเหตุผลมาจากเกษตรกรบางสวนที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่มี แรงจูงใจดานผลตอบแทนสูงกวา เชน มันสําปะหลัง ออย และยางพารา เปนตน จึง ทําใหพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในประเทศไทยลดลงอยาง แตในทางกลับกัน อุตสาหกรรมอาหารสัตวในประเทศไทยมีความตองการใชวัตถุดิบเพิ่มขึ้น ซึ่ง ขาวโพดก็เปนหนึ่งในวัตถุดิบหลัก ดังนั้นผลที่ตามมาอาจทําใหประเทศไทย จําเปนตองนําเขาขาวโพดเลี้ยงสัตวมาจากประเทศเพื่อนบานเพิ่มมากขึ้น (2) ปญหาการปนเปอนของสารอัลฟราทอกซิน การเพาะปลูกขาวโพดของไทยแบงออกไดเปน 2 รุนหลักๆ คือ23 1) รุนที่ 1 มีชวงเวลาการปลูกเดือน พฤษภาคม-ตุลาคม และมีชวงเวลาเก็บ เกี่ยวเดือน สิงหาคม-กุมภาพันธ มีปริมาณผลผลิตสูงที่สุดประมาณรอย ละ 80.0 ของผลผลิตขาวโพดทั้งหมด 2) รุนที่ 2 มีชวงเวลาการปลูกเดือน พฤศจิกายน-มีนาคม และมีชวงเวลา เก็บเกี่ยวเดือน กุมภาพันธ-มิถุนายน มีปริมาณผลผลิตประมาณรอยละ 20.0 ของผลผลิตขาวโพดทั้งหมด 23 “ขอมูลพื้นฐานเศรษฐกิจการเกษตร” ศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2552
  • 21. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 103 จากชวงเวลาการปลูกและเก็บเกี่ยวของขาวโพดทั้ง 2 รุนนี้ จะเห็นวาในรุนที่ 1 ซึ่งเปนรุนที่มีปริมาณผลผลิตมากที่สุด พบวามีชวงเวลาการเก็บเกี่ยวในฤดูฝนทํา ใหเสี่ยงตอการขึ้นราและปนเปอนสารพิษอัลฟราทอกซิน ซึ่งการปนเปอนสวนหนึ่ง จะเกิดขึ้นกับขาวโพดที่เก็บไวในยุงของเกษตรกร และปริมาณสารพิษจะเพิ่มมาก ขึ้นเมื่อขาวโพดอยูในมือของพอคาทองถิ่น โดยเฉพาะชวงที่ขาวโพดอยูในโกดังเพื่อ รอลดความชื้น นอกจากนี้ในชวงปลายของฤดูฝนจะมีการระบาดของโรคและแมลง ซึ่งทําใหผลผลิตขาวโพดเสียหายอีกดวย 4.2.4 ถั่วเหลือง ปญหาของถั่วเหลืองไทยในอาเซียนยังไมมีมากนัก เนื่องจากประเทศไทยเปน ประเทศผูนําเขาถั่วเหลือง โดยสามารถสงออกไดนอยมาก และขณะนี้ผลผลิตตอไร ของไทยอยูในระดับที่สูงกวาประเทศเพื่อนบานทั้งหมด ดังนั้นในระยะสั้นคาดวา ยังคงไมพบปญหา แตในระยะยาวนั้นอาจมีปญหาผลผลิตในประเทศที่มีแนวโนม ลดลงเพราะมีพื้นที่ใหผลผลิตลดลง จึงอาจตองนําเขาถั่วเหลืองเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจเกิด ปญหาในดานคุณภาพของถั่วเหลืองที่นําเขาจากประเทศเพื่อนบานบางประเทศที่ เปนถั่วเหลือง (Genetic Modified Organisms : GMOs) ซึ่งอาจทําใหถูกกีดกัน ทางการคาจากประเทศผูนําเขาผลิตภัณฑถั่วเหลืองจากไทยได 4.2.5 ปาลมน้ํามันและน้ํามันปาลม แมวาประเทศไทยจะยังมีปญหาในการผลิตปาลมน้ํามันแตไทยก็ยังสามารถ ปรับตัวเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาอุตสาหกรรมน้ํามันปาลมจนสามารถ พึ่งพาตัวเองได ไมตองนําเขาหรือนําเขาในปริมาณนอยและยังสามารถผลิตจน เหลือสงออกไปยังตางประเทศได สรางความเขมแข็งใหเกิดขั้นทั้งระบบไมวาจะ
  • 22. AEC Prompt 104 เปนเกษตรกร ผูประกอบการแปรรูป รวมถึงผูบริโภค แตปจจุบันยังมีปญหาเกิดขึ้น ในการพัฒนาน้ํามันปาลมของไทย สามารถสรุปเปนปญหาในดานตางๆ ได ดังตอไปนี้ (1) ดานการผลิต 1) คุณภาพของผลปาลมน้ํามันที่ยังมีคุณภาพต่ํา เนื่องจากพันธุปาลมมี คุณภาพต่ํา 2) ตนทุนการเพาะปลูกปาลมน้ํามันของไทยอยูในระดับสูง เนื่องจาก ชาวสวนปาลมสวนใหญเปนเกษตรกรรายยอย พื้นที่ปลูกปาลมน้ํามันมี ขนาดเล็ก สงผลใหผลผลิตตอไรอยูในระดับต่ําและตนทุนการผลิตสูง รวมการขาดการบริหารจัดการที่ดี 3) เกษตรกรขาดอํานาจตอรอง และมีการจําหนายผลผลิตขาดการแยก เกรดทําใหไดราคาต่ํา (2) ดานการบริหารจัดการ 1) การขยายพื้นที่สงเสริมการปลูกโดยมิไดคํานึงถึงความเหมาะสมของ พื้นที่และความเปนไปไดในทางปฏิบัติ 2) โรงงานสกัดน้ํามันปาลมมีกําลังการผลิตสวนเกิน ซึ่งปจจุบันมีโรงงาน สกัดน้ํามันปาลม 54 โรงงานมีกําลังการผลิตรวม 14.5 ลานตันผลปาลม สดตอป มีกําลังการผลิตสวนเกินเฉลี่ยรอยละ 55 สงผลใหเกิดการตัด ปาลมดิบเขาสูโรงงานในขณะมีที่โรงงานกลั่นน้ํามันปาลมบริสุทธิ์ 14
  • 23. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 105 โรงงาน มีกําลังการผลิต 1.2 ลานตันน้ํามันปาลมดิบตอป โรงงานมี กําลังผลิตสวนเกินรอยละ 45 เชนกัน 3) การดําเนินนโยบายพลังงานทดแทน ซึ่งมีวัตถุประสงคหลักเพื่อ สงเสริมไบโอดีเซล โดยใชน้ํามันสวนที่เหลือจากการบริโภคมาผลิต เปนไบโอดีเซล เพื่อลดการนําเขาน้ํามันเชื้อเพลิง ยังไมมีวัตถุดิบเพียงพอ แมวาจะนโยบายในการเพิ่มพื้นที่เพาะปลูกปาลมเพื่อนําไปใชผลิต พลังงานทดแทนโดยเฉพาะ 4) การขาดมาตรฐานในการกําหนดราคารับซื้อผลปาลม การเปลี่ยนแปลง ของราคาผลปาลมจะสงผลตอการเปลี่ยนแปลงราคาน้ํามันปาลมดิบ จนกระทั่งน้ํามันปาลมบริสุทธิ์ที่ใชในการบริโภคและการผลิตสินคา อุปโภคบริโภคในอุตสาหกรรมตอเนื่องดวย 5) ประเทศไทยยังขาดหนวยงานที่ควบคุมดูและจัดการเกี่ยวกับปาลม น้ํามันและน้ํามันปาลมอยางเปนระบบเชนเดียวกับ Malaysian Palm Oil Board (MPOB) ของมาเลเซีย ซึ่งกลาวไดวานี่เปนจุดแข็งที่สําคัญ อยางหนึ่งของการพัฒนาอุตสาหกรรมปาลมน้ํามันของมาเลเซียจนกาว เปนผูผลิตชั้นนําของโลก 4.2.6 กาแฟไทย (1) ตนทุนการผลิต สําหรับตนทุนการผลิตของไทยในปจจุบันยังคงมีระดับสูงกวาประเทศคูแขง อยางเวียดนาม โดยเฉพาะตนทุนคาจางแรงงานของไทยที่สูงกวาเวียดนามและ อินโดนีเซีย ทําใหกาแฟไทยไมสามารถแขงขันในตลาดโลกได นอกจากนั้นยังมี
  • 24. AEC Prompt 106 สาเหตุจากการดูแลรักษาตนกาแฟไมถูกวิธีดวย เชน การใชปุยมากเกินไป การใช ยากําจัดโรคและแมลงยังไมถูกตอง เปนตน สงผลใหเสียคาใชจายสูงและปริมาณ ผลผลิตต่ํา (2) คุณภาพกาแฟ คุณภาพของเมล็ดกาแฟของไทยแมวาจะมีคุณภาพที่ดีกวาประเทศคูแขงทั้ง จากเวียดนามและอินโดนีเซีย แตอยางไรก็ตามเมล็ดกาแฟของไทยยังคงพบวามี ปญหาดานคุณภาพที่ไมสม่ําเสมอ เนื่องจากมีการเก็บเมล็ดสุกและไมสุกปะปนกัน การนําผลกาแฟไปตากบนลานดินทําใหเมล็ดกาแฟดูดซับเอากลิ่นดินเขาไปใน เมล็ด (3) เวียดนามมีแนวโนมผลิตกาแฟเพิ่มขึ้นทําใหผลผลิตลนตลาด จากการที่เวียดนามสามารถผลิตกาแฟไดมากเปนอันดับ 2 ของโลก รวมทั้งมี นโยบายเพิ่มพื้นที่ปลูกมากขึ้นเรื่อยๆ จะยิ่งทําใหปริมาณผลผลิตกาแฟออกสู ตลาดโลกเปนจํานวนมาก ทําใหเกิดภาวะสินคาลนตลาด และทําใหราคา ตลาดโลกตกต่ําในที่สุด ผลจากราคาตกต่ํานี้จะยิ่งลดแรงจูงใจของผูปลูกกาแฟใน ประเทศไทยมากขึ้น และอาจสงผลใหปริมาณการผลิตกาแฟในประเทศลดลง 4.3 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนตอสินคาเกษตรไทย 4.3.1 ขาว จากเดิมกอนที่จะลดภาษีขาวเปน 0 ตามขอตกลงของประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนในป 2553 การลักลอบนําเขาขาวจากประเทศเพื่อนบานอยางเชน ลาว พมา และกัมพูชา มีจํานวนคอนขางมากอยูแลว ซึ่งเมื่อมีการเปดใหมีการนําเขา
  • 25. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 107 ขาวอยางเสรีจากประเทศในกลุมอาเซียนดวยกัน ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นแนนอนคือ การทะลักเขามาจํานวนมากของขาวจากประเทศเพื่อนบาน และสิ่งที่ทุกฝายกังวล ก็คือเมื่อมีการนําเขาขาวจากเพื่อนบานอาจมีสารปนเปอนและมีการตัดแตง พันธุกรรม (GMOs) โดยที่ไมสามารถแยกไดวามาจากไหน อาจเกิดการปลอมปน ทําใหคุณภาพขาวของไทยดอยลง สวนในดานการคาเมื่อขาวของไทยมีราคาแพง ผูซื้อหันไปนําเขาขาวจากประเทศเพื่อนบานที่ราคาถูกกวา สวนพอคาในประเทศ บางสวนอาจนําเขาขาวจากประเทศเพื่อนบานแลวสงออก ซึ่งในสวนนี้อาจจะสงผล กระทบตอเรื่องราคาขาวภายในประเทศของไทย 4.3.2 มันสําปะหลัง การเปดเสรีทางการคาภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ไมสงผลกระทบ ตอมันสําปะหลังของไทยมากนัก เนื่องจากในปจจุบันไทยเปนประเทศที่มีศักยภาพ ในการผลิตและสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังไดมากที่สุดในอาเซียน โดยครอง สวนแบงตลาดมากกวาประเทศคูแขงอยางเวียดนามและอินโดนีเซียคอนขางมาก ประกอบกับไทยมีการพัฒนาในดานการผลิต ดานคุณภาพของผลิตภัณฑมัน สําปะหลัง รวมไปถึงการพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิตและการแปรรูปมันสําปะหลัง ในรูปแบบตางๆ ใหมีความหลากหลายมากขึ้นอยางตอเนื่อง ดังนั้นผลกระทบของ ผลิตภัณฑมันสําปะหลังภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จึงเปนผลกระทางดาน บวกมากกวาดานลบ ถึงแมวาการเปด AEC อาจจะทําใหมีการนําเขามันสําปะหลัง จากประเทศเพื่อนบานอยางเชนกัมพูชา ลาว พมา มากขึ้น แตปริมาณการนําเขา มันสําปะหลังจากประเทศเพื่อนบาน จะไมสงผลกระทบตอมันสําปะหลังของไทย
  • 26. AEC Prompt 108 แตอยางใดเนื่องจากความตองการใชมันสําปะหลังของไทยในการสงออกมีจํานวน มาก 4.3.3 ขาวโพดเลี้ยงสัตว จากที่กลาวขางตนในดานการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยที่มีปริมาณการ ผลิตยังไมเพียงพอตอความตองการใชในประเทศ ทําใหตองนําเขามาจาก ตางประเทศดวยนั้น หากในป 2553 ที่อัตราภาษีนําเขาของประเทศอาเซียนลดลง เหลือ 0% ซึ่งรวมถึงไทยดวยนั้น พบวาจะทําใหขาวโพดเลี้ยงสัตวจากประเทศ อาเซียนเขามาในประเทศเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากมีความตองการนําเขาและราคาใน ประเทศอยูในระดับสูง แตทั้งนี้ในระยะสั้นปริมาณการไหลเขามาในไทยของ ขาวโพดเลี้ยงสัตวจากอาเซียนยังคงมีไมมากนัก เนื่องจากปริมาณการผลิตของ ประเทศอาเซียนที่เปนผูผลิตหลักยังไมเพียงพอตอความตองการในประเทศของ ตนเอง แตในระยะยาวแลวหากประเทศเหลานั้นมีการพัฒนาปริมาณผลผลิตตอไร เพิ่มมากขึ้นแลว อาจสงผลใหปริมาณการนําเขาขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยจาก อาเซียนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะทําใหสงผลกระทบตอราคาและเกษตรกรในประเทศได ในที่สุด 4.3.4 ถั่วเหลือง ปจจุบันผลผลิตถั่วเหลืองในประเทศไทยที่ยังมีไมเพียงพอตอความตองการ ใชในประเทศ ทําใหเมื่อประเทศอาเซียนตองลดภาษีเปน 0% ในป 2553 จะทําให ผูประกอบการแปรรูปผลิตภัณฑจากถั่วเหลืองสามารถนําเขาถั่วเหลืองและกากถั่ว เหลืองไดในราคาที่ถูกลง ซึ่งในระยะสั้นอาจยังไมสงผลเสียตอเกษตรกรผูผลิต แต
  • 27. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 109 ในระยะยาวอาจสงผลกระทบใหจํานวนผูผลิตถั่วเหลืองลดลงได เนื่องจากประเทศ เพื่อนบาน เชน เวียดนาม ลาว เปนตน ในพื้นที่ตอนบนของประเทศมีสภาพอากาศ ที่เหมาะสมในการผลิตถั่วเหลือง ซึ่งหากมีการพัฒนาการผลิตและผลผลิตตอไร ก็ จะยิ่งทําใหปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นมากและทะลักเขาสูประเทศไทยมากขึ้น 4.3.5 ปาลมน้ํามันและน้ํามันปาลม ปาลมน้ํามันถือเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญอยางหนึ่งของเกษตรกรของไทย โดยเฉพาะทางภาคใต รวมถึงยังสงผลใหไทยมีจุดแข็งในดานความมั่นคงทางดาน อาหารประเภทน้ํามัน ซึ่งน้ํามันปาลมบริสุทธิ์ของไทยถือไดวามีมาตรฐานการผลิต ที่สูงเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศผูผลิตปาลมน้ํามันและน้ํามันปาลมรายใหญของ โลก เนื่องจากเปนน้ํามันที่มีลักษณะใส ไมมีตะกอน และไมเปนไข สําหรับพันธกรณีการเปดตลาดสินคาสินคาน้ํามันปาลมนั้น ตามขอตกลง เขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) สงผลใหไทยตองปรับ ลดภาษีนําเขาน้ํามันปาลมดิบและน้ํามันปาลมบริสุทธิ์เหลือเพียงรอยละ 5 ในป 2546 จากภาษีภายใตองคการการคาโลกซึ่งเดิมอยูที่รอยละ 20 หากเปนภาษีที่อยู ในโควตาการนําเขา และรอยละ 143 หากเปนภาษีที่อยูนอกโควตาการนําเขา และ ในป 2548 ไดมีการยกเลิกมาตรการโควตาภาษีแลว แตใชมาตรการที่มิใชภาษี NTB โดยการนําเขาตองยื่นนําเขาผานองคการคลังสินคา ทั้งนี้ตองขึ้นอยูกับ ปริมาณสินคาที่มีอยูในประเทศ สวนการปรับลดภาษีของ AFTA ภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในป 2553 ที่ตองปรับลดภาษีลงเหลือ รอยละ 0 นั้น น้ํามันปาลมของไทยตองเผชิญกับ ภาษีดังกลาวดวยเชนกัน แตทั้งนี้การนําเขายังตองอยูภายใตการควบคุมดูแลของ