SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 37
Descargar para leer sin conexión
การไทเทรตปฏิกิริยากรด-เบส
Asst.Prof.Woravith Chansuvarn, Ph.D.
http://web.rmutp.ac.th/woravith woravithworavith.c@rmutp.ac.th
การไทเทรต
กรด-เบส
5.1 พื้นฐานเกี่ยวกับกรด-เบส
กราฟการไทเทรต
การไทเทรตระหว่างกรดแก่-เบสแก่
การไทเทรตระหว่างกรดอ่อน-เบสแก่
และเบสอ่อน-กรดแก่
// แผนการสอนและประเมินผลการเรียนรู้
• ทฤษฎีกรด-เบส
• ความแรงของกรด-เบส
• ค่าคงที่การแตกตัวของกรด-เบส
• ค่า pH
• ปฏิกิริยาการแยกสลายด้วยน้า
• บัฟเฟอร์
• อินดิเคเตอร์กรด-เบส
https://chem.libretexts.org/Bookshelves/Analytical_Chemistry
เอกสารประกอบการสอน
http://www.slideshare.net/woravith
http://web.rmutp.ac.th/woravith
ChemoGraphics
▪ วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ. 2563. เคมีวิเคราะห์
(หลักการและเทคนิคการคานวณเชิงปริมาณ).
สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
แตกตัวได้ 100% แตกตัวได้ <100%
[H+
]ที่แตกตัว =
pH = -log [H+
]
pOH = -log [OH-
]
pH = 14 - pOH
KaCa
strongelectrolyte
weakelectrolyte
กรดอ่อน
เบสอ่อน
กรดแก่
เบสแก่
[OH-
]ที่แตกตัว = KbCb
[H+
]ที่แตกตัว = [C]เริ่มต้น
[OH-
]ที่แตกตัว = [C]เริ่มต้น
#ทบทวน
#ทบทวน
บัพเฟอร์
ไฮโดรลิซีส
บัพเฟอร์กรด
บัพเฟอร์เบส
pH = pKa+ log
[salt]
[acid]
pH = pKb + log
[salt]
[base]
[H+] =
Kw
Kb
[salt] [OH−] =
Kw
Ka
[salt]
ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส เรียกว่า ปฏิกิริยาสะเทิน หรือ
ปฏิกิริยาทาให้เป็นกลาง (neutralization reaction)
ปฏิกิริยาสะเทินเกิดผลิตภัณฑ์ได้เกลือ (salt) และน้า
ปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่กับเบสแก่1
ปฏิกิริยาระหว่างกรดอ่อนกับเบสแก่2
ปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่กับเบสอ่อน3
ปฏิกิริยาระหว่างกรดอ่อนกับเบสอ่อน4
ปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่กับเบสแก่ ปฏิกิริยาระหว่างเบสอ่อนกับกรดแก่
กรดแก่ แตกตัวเป็น H+ อย่างสมบูรณ์
เบสแก่ แตกตัวเป็น OH- อย่างสมบูรณ์
เกลือที่เกิดจากกรดแก่กับเบสแก่ไม่เกิดปฏิกิริยา
แยกสลายด้วน้า
ที่จุดสมมูล สารละลายมี pH = 7
HCl + NaOH → NaCl + H2O
H+ + Cl- Na+ + OH-
กรดอ่อน แตกตัวเป็น H+ อย่างไม่สมบูรณ์
เบสแก่ แตกตัวเป็น OH- อย่างสมบูรณ์
CH3COOH + NaOH → CH3COONa + H2O
เกลือ CH3COONa ทาปฏิกิริยาแยกสลายด้วยน้า เกิดอนุมูล OH-
CH3COO- + H2O → CH3COOH + OH-
ที่จุดสมมูล สารละลายมี pH > 7
Na+
+ CH3COO-
กรดแก่ แตกตัวเป็น H+ อย่างสมบูรณ์
เบสอ่อน แตกตัวเป็น OH- อย่างไม่สมบูรณ์
HCl + NH3 → NH4Cl
NH4
++ OH-H+ + Cl-
CH3COOH + NH3 → CH3COO- + NH4
+
เกลือ CH3COO- และ NH4
+
สามารถเกิดปฏิกิริยาแยกสลายด้วยน้าได้ เกิดอนุมูล H+ หรือ OH-
ที่จุดสมมูล สารละลายจึงเป็นกรดหรือเบสที่อ่อนมาก ขึ้นกับ
ชนิดของกรดอ่อนและเบสอ่อน
ปฏิกิริยาระหว่างเบสอ่อนกับกรดอ่อน
กรดอ่อน แตกตัวเป็น H+ อย่างไม่สมบูรณ์
เบสอ่อน แตกตัวเป็น OH- อย่างไม่สมบูรณ์
ปฏิกิริยาระหว่างกรดอ่อนกับเบสแก่
ที่จุดสมมูล สารละลายมี pH < 7
NH4
+ + H2O → NH3 + H3O+
เกลือ NH4Cl ทาปฏิกิริยาแยกสลายด้วยน้า เกิดอนุมูล H+
จุดเริ่มต้น
(initial point)
การคานวณค่า
pH แต่ละจุด
(ช่วง)
ขึ้นกับชนิดของ
กรดและเบส
ช่วงก่อนจุดสมมูล
(pre-equivalent point)
จุดสมมูล
(equivalent point)
ช่วงหลังจุดสมมูล
(post-equivalent point)
กรด – titrant
เบส – titrand
เบส – titrant
กรด – titrant
1
2
3
4
จุดทางทฤษฎีที่จานวนโมลของตัวไทเทรตและตัวถูกไทเทรต
ทาปฏิกิริยากันพอดีตามปริมาณสัมพันธ์
จุดสมมูล
mmol B = mmol A
คานวณปริมาตรตัวไทเทรตที่จุดสมมูล เพื่อกาหนดช่วงการคานวณค่า pH
MBVB = MAVA
• ถ้าปริมาตรตัวไทเทรตที่เติม < VB แสดงว่าเป็นจุดก่อนสมมูล
• ถ้าปริมาตรตัวไทเทรตที่เติม = VB แสดงว่าเป็นจุดสมมูล
• ถ้าปริมาตรตัวไทเทรตที่เติม > VB แสดงว่าเป็นจุดหลังสมมูล
VB =
MAVA
MB
A + B → PB
A
แนวคิดการคานวณ pH ของการไทเทรตกรดแก่-เบสแก่
จุดเริ่มต้น (VB=0)
ค่า pH คานวณอย่างกรดแก่เริ่มต้น
จุดเริ่มต้น (VA=0)
ค่า pH คานวณอย่างเบสแก่เริ่มต้น
การไทเทรตกรดแก่ด้วยเบสแก่ การไทเทรตเบสแก่ด้วยกรดแก่
1
ช่วงก่อนจุดสมมูล (VB<VA)
ค่า pH คานวณอย่างกรดแก่ที่เหลือ
ช่วงก่อนจุดสมมูล (VA<VB)
ค่า pH คานวณอย่างเบสแก่ที่เหลือ2
จุดสมมูล (VB=VA)
ค่า pH คานวณจากการแตกตัวของน้า
จุดสมมูล (VA=VB)
ค่า pH คานวณจากการแตกตัวของน้า3
ช่วงหลังจุดสมมูล (VB>VA)
ค่า pH คานวณตามเบสแก่ที่เกิน
ช่วงหลังจุดสมมูล (VA>VB)
ค่า pH คานวณตามกรดแก่ที่เกิน
4
กราฟการไทเทรต
กรดแก่-เบสแก่
0.100 M NaOH
0.100 M HCl
25.00 mL
mmol NaOH = mmol HCl
HCl(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + NaCl(aq)
VNaOH=
0.100 Mx25.00 mL
0.100 M
VNaOH = 25.0 mL
1
จุดเริ่มต้น (VNaOH=0 mL) ในสารละลายมีเพียง HCl 0.100 mol/L
อย่างเดียว และ HCl เป็นกรดแก่
HCl(aq) → H+
(aq) + Cl-
(aq)
0.100 M 0.100 M 0.100 M
pH = -log [H+
]
= -log(1.00x10-1
)
= 1.000
2.50 mmol
กราฟการไทเทรต
กรดแก่-เบสแก่
0.100 M NaOH
10.0 mL
0.100 M HCl
25.00 mL
HCl(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + NaCl(aq)
2
ช่วงก่อนจุดสมมูล (VNaOH=10.00 mL)
2.50 mmol
1.00 mmol mmol HCl = mmol HCl(เริ่มต้น) – mmol NaOH(ที่เติม)
= 2.50 – 1.00
= 1.50 mmol
[HCl]ที่เหลือ = = 0.0428 M
1.50 mmol
35.00 mL
HCl(aq) → H+
(aq) + Cl-
(aq)
0.0428 M 0.0428 M
pH = -log [H+
]
= -log(4.28x10-2
)
= 1.368
ในสารละลายมีจานวนโมลของ HCl มากกว่า NaOH
หมายเหตุ การคานวณ pH เมื่อเติม NaOH ที่ยังไม่ถึงจุดสมมูล (<2.50 mmol) วิธีคานวณ
จะคานวณเหมือนกันทั้งหมด ค่า pH<7.0
mmol NaOH < mmol HCl
กราฟการไทเทรต
กรดแก่-เบสแก่
0.100 M NaOH
25.00 mL
0.100 M HCl
25.00 mL
HCl(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + NaCl(aq)
3
จุดสมมูล (VNaOH=25.00 mL)
2.50 mmol
2.50 mmol
pH = -log [H+
]
= -log(1.0x10-7
)
= 7.00
ในสารละลายมีจานวนโมลของ
HCl เท่ากับ NaOH
ที่จุดสมมูลเกิดเกลือและน้า
การคานวณ pH คิดจากการ
แตกตัวของน้า
เมื่อกาหนดให้
[H3O+] = [OH-] = x
ดังนั้น x2 = 1.0x10-14
x = 1.0x10-7
[H3O+] = [OH-] = 1.00x10-7
2H2O(l) → H3O+
(aq) + OH-
(aq)
Kw=[H3O+][OH-]=1.0x10-14
mmol NaOH = mmol HCl
กราฟการไทเทรต
กรดแก่-เบสแก่
0.100 M NaOH
26.0 mL
0.100 M HCl
25.00 mL
HCl(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + NaCl(aq)
4
ช่วงหลังจุดสมมูล (VNaOH=26.00 mL)
2.50 mmol
2.60 mmol mmol NaOH = mmol NaOH(ที่เติม) – mmol NaOH(ที่สมมูล)
= 2.60 – 2.50
= 0.10 mmol
[NaOH]ที่เหลือ = = 0.0020 M
0.10 mmol
51.00 mL
NaOH(aq) → OH-
(aq) + Na+
(aq)
0.0020 M 0.0020 M
pOH = -log [OH-
]
= -log(2.0x10-3
) = 2.71
ในสารละลายมีจานวนโมลของ NaOH มากกว่า HCl
หมายเหตุ การคานวณ pH เมื่อเติม NaOH ที่เกินจุดสมมูล (>2.50 mmol) วิธีคานวณจะคานวณ
เหมือนกันทั้งหมด ค่า pH>7.0
pH = 14.0 – pOH
= 14.0 – 2.71 = 11.29
mmol NaOH > mmol HCl
กราฟการไทเทรต
กรดแก่-เบสแก่
0.100 M NaOH
0.100 M HCl
25.00 mL
HCl(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + NaCl(aq)
0.0
2.0
4.0
6.0
8.0
10.0
12.0
14.0
0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0
pH
ปริมาตรสารละลาย NaOH (mL)
กราฟการไทเทรต
กรดแก่-เบสแก่
0.100 M NaOH
x mL
0.100 M HCl
25.00 mL
HCl(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + NaCl(aq)
VNaOH (mL) pH VNaOH (mL) pH
0.00 1.000 25.01 9.301
1.00 1.035 25.10 10.30
5.00 1.176 25.50 11.00
10.00 1.368 26.00 11.29
12.50 1.477 28.00 11.75
15.00 1.602 30.00 11.96
20.00 1.954 35.00 12.22
24.00 2.690 40.00 12.36
24.50 2.996 45.00 12.46
24.90 3.698 50.00 12.52
25.00 7.00
ค่า pH การไทเทรตสารละลาย HCl 0.100 mol/L ด้วยสารละลาย NaOH 0.100 mol/L
0.0
2.0
4.0
6.0
8.0
10.0
12.0
14.0
0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0
pH
ปริมาตรสารละลาย NaOH (mL)
24.90 mL, pH=3.698
25.10 mL, pH=10.30
methyl red
(pH4.2-6.3)
จุดสมมูล (25.00 mL, pH=7.00)
phenolphthalien
(pH8.2-10.0)
กราฟการไทเทรตกรดแก่-เบสแก่
สรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับ
การเลือกอินดิเคเตอร์
HCl(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + NaCl(aq)
0.0
2.0
4.0
6.0
8.0
10.0
12.0
14.0
0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0
pH
ปริมาตรสารละลาย NaOH (mL)
กราฟการไทเทรตกรดแก่-เบสแก่
(ก) HCl 0.100 M กับ NaOH 0.100 M
(ข) HCl 0.0100 M กับ NaOH 0.0100 M
(ค) HCl 0.00100 M กับ NaOH 0.00100 M
(ก)
(ข)
(ค)
phenolphthalien
(pH8.2-10.0)
methyl red
(pH4.4-6.3)
สรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับ
การเลือกอินดิเคเตอร์
HCl(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + NaCl(aq)
จุดสมมูล (pH=7.00)
กราฟการไทเทรต
เบสแก่-กรดแก่
0.100 M HCl
x mL
0.100 M KOH
25.00 mL
HCl(aq) + KOH(aq) → H2O(aq) + KCl(aq)
ค่า pH การไทเทรตสารละลาย KOH 0.100 mol/L ด้วยสารละลาย HCl 0.100 mol/L
VNaOH (mL) pH VNaOH (mL) pH
0.00 13.00 25.01 4.699
1.00 12.96 25.10 3.699
5.00 12.82 25.50 3.004
10.00 12.63 26.00 2.708
12.50 12.52 28.00 2.247
15.00 12.40 30.00 2.041
20.00 12.05 35.00 1.778
24.00 11.31 40.00 1.637
24.50 11.00 45.00 1.544
24.90 10.30 50.00 1.478
25.00 7.00
0.0
2.0
4.0
6.0
8.0
10.0
12.0
14.0
0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0
pH
ปริมาตรสารละลาย HCl (mL)
กราฟการไทเทรตกรดแก่-เบสแก่
Methyl red
(pH4.2-6.3)
จุดสมมูล (25.00 mL, pH=7.00)
Phenolphthalien
(pH8.2-10.0)
สรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับ
การเลือกอินดิเคเตอร์
HCl(aq) + KOH(aq) → H2O(aq) + KCl(aq)
แนวคิดการคานวณ pH ของการไทเทรตกรดอ่อน-เบสแก่ และเบสอ่อน-กรดแก่
จุดเริ่มต้น (VB=0)
ค่า pH คานวณอย่างกรดอ่อนเริ่มต้น
จุดเริ่มต้น (VA=0)
ค่า pH คานวณอย่างเบสอ่อนเริ่มต้น
การไทเทรตกรดแก่ด้วยเบสแก่ การไทเทรตเบสแก่ด้วยกรดแก่
1
ช่วงก่อนจุดสมมูล (VB<VA)
ค่า pH คานวณอย่างบัฟเฟอร์กรด
ช่วงก่อนจุดสมมูล (VA<VB)
ค่า pH คานวณอย่างบัฟเฟอร์เบส2
จุดสมมูล (VB=VA)
ค่า pH คานวณจากปฏิกิริยาแยกสลายด้วยน้า
จุดสมมูล (VA=VB)
ค่า pH คานวณจากปฏิกิริยาแยกสลายด้วยน้า3
ช่วงหลังจุดสมมูล (VB>VA)
ค่า pH คานวณตามเบสแก่ที่เกิน
ช่วงหลังจุดสมมูล (VA>VB)
ค่า pH คานวณตามกรดแก่ที่เกิน
4
กราฟการไทเทรต
กรดอ่อน-เบสแก่
0.100 M NaOH
0 mL
0.100 M CH3COOH
25.00 mL
mmol NaOH = mmol HOAc
CH3COOH(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + CH3COONa(aq)
VNaOH=
0.100 Mx25.00 mL
0.100 M
VNaOH = 25.0 mL
1
จุดเริ่มต้น (VNaOH = 0 mL) ในสารละลายมี CH3COOH เพียงอย่างเดียว
และ CH3COOH เป็นกรดอ่อน พิจารณาการ
แตกตัวจากค่า Ka=1.8x10-5
CH3COOH(aq) → H+
(aq) + CH3COO-
(aq)
0.100 M <0.100 M
2.50 mmol
pH = -log [H+
]
= -log(1.3x10-3
)
= 2.89
-5 -3
= (1.8x10 )(0.100) = 1.3x10 M
- +
3
a
3
[CH COO ][H ]
K =
[CH COOH]
วิธีประมาณค่า +
a a[H ] = K C
กราฟการไทเทรต
กรดอ่อน-เบสแก่
0.100 M NaOH
10.00 mL
2
ช่วงก่อนจุดสมมูล (VNaOH=10.00 mL)
2.50 mmol
1.00 mmol
pH = 4.57
ในสารละลายมีจานวนโมลของ NaOH < CH3COOH เกิดเกลือ CH3COONa
ในสารละลายประกอบด้วยกรดอ่อนและเกลือของกรดอ่อน >> บัฟเฟอร์กรด
หมายเหตุ การคานวณ pH เมื่อเติม NaOH ที่ยังไม่ถึงจุดสมมูล (<2.50 mmol) วิธีคานวณ
จะคานวณเหมือนกันทั้งหมด ค่า pH<7.0
CH3COOH(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + CH3COONa(aq)
3
a
3
[CH COONa]
pH = pK + log
[CH COOH]
mmol CH3COONa(ที่เกิดขึ้น)
เท่ากับ mmol NaOH(ที่เติม)
mmol CH3COOH(ที่เหลือ)
เท่ากับ mmol CH3COOH(เริ่มต้น) –
mmol NaOH(ที่เติม)
(0.100x10.00 = 1.00 mmol)
(2.50 - 1.00 = 1.50 mmol)
a
1.00
35.00
pH = pK + log
1.50
35.00
 
 
 
 
 
 
-5 1.00
pH = -log(1.8x10 ) + log
1.50
เกิดบัฟเฟอร์
0.100 M CH3COOH
25.00 mL
กราฟการไทเทรต
กรดอ่อน-เบสแก่
0.100 M NaOH
25.00 mL
3
จุดสมมูล (VNaOH=25.00 mL)
2.50 mmol
2.50 mmol
ในสารละลายมีจานวนโมลของ NaOH = CH3COOH เกิดเกลือ
CH3COONa อย่างสมบูรณ์ หมดสภาพบัฟเฟอร์ และเกลือ CH3COONa
เกิดปฏิกิริยาแยกสลายด้วยน้า
CH3COOH(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + CH3COONa(aq)
pOH = -log(5.27x10-6) = 5.278
pH = 14.0 – 5.278
= 8.72
CH3COONa(aq) + H2O(aq) → CH3COOH(aq) + OH-
(aq) + Na+(aq)
w 3-
a
K [CH COONa]
[OH ] =
K
mmol CH3COONa(ที่เกิดขึ้น)
เท่ากับ mmol NaOH(ที่สมมูล)
(0.100x25.00 = 2.50 mmol)
-14
- -6
-5
2.50
(1.0x10 ) x
50.00
[OH ] = = 5.27x10
1.8x10
 
 
 
0.100 M CH3COOH
25.00 mL
กราฟการไทเทรต
กรดอ่อน-เบสแก่
0.100 M NaOH
26.00 mL
4
ช่วงหลังจุดสมมูล (VNaOH=26.00 mL)
2.50 mmol
2.60 mmol
ในสารละลายมีจานวนโมลของ NaOH > CH3COOH
CH3COOH(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + CH3COONa(aq)
mmolNaOH = mmolNaOH(ที่เติม) – mmolNaOH(ที่สมมูล)
= 2.60 – 2.50
= 0.10 mmol
[NaOH]ที่เหลือ = = 0.0020 mol/L
0.10 mmol
51.00 mL
NaOH(aq) → OH-
(aq) + Na+
(aq)
0.0020 M 0.0020 M
pOH = -log [OH-
]
= -log(2.0x10-3
) = 2.71
หมายเหตุ การคานวณ pH เมื่อเติม NaOH ที่เกินจุดสมมูล (>2.50 mmol) วิธีคานวณจะคานวณ
เหมือนกันทั้งหมด ค่า pH>7.0
pH = 14.0 – pOH
= 14.0 – 2.71 = 11.29
0.100 M CH3COOH
25.00 mL
กราฟการไทเทรต
กรดอ่อน-เบสแก่
0.100 M NaOH
x mL VNaOH (mL) pH VNaOH (mL) pH
0.00 2.89 25.01 9.30
1.00 3.36 25.10 10.30
5.00 4.14 25.50 11.00
10.00 4.57 26.00 11.29
12.50 4.74 30.00 11.96
15.00 4.92 35.00 12.22
20.00 5.35 40.00 12.36
24.00 6.12 45.00 12.46
24.50 6.43 50.00 12.52
24.90 7.14
24.99 8.14
25.00 8.72
ค่า pH การไทเทรตสารละลาย CH3COOH 0.100 mol/L ด้วยสารละลาย NaOH 0.100 mol/L
CH3COOH(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + CH3COONa(aq)
0.100 M CH3COOH
25.00 mL
กราฟการไทเทรตกรดอ่อน-เบสแก่
50.00 mL pH=12.52
12.50 mL pH=pKa =4.74
สรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับ
การเลือกอินดิเคเตอร์
0.0
2.0
4.0
6.0
8.0
10.0
12.0
14.0
0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0
pH
ปริมาตรสารละลาย NaOH (mL)
CH3COOH(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + CH3COONa(aq)
Methyl red
(pH4.4-6.3)
จุดสมมูล (25.00 mL, pH=8.72)
Phenolphthalien
(pH8.2-10.0)
12.50 mL pH=pKa =4.74
Methyl red
(pH4.4-6.3)
Phenolphthalien
(pH8.2-10.0)
0.0
2.0
4.0
6.0
8.0
10.0
12.0
14.0
0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0
pH
ปริมาตรสารละลาย NaOH (mL)
กราฟการไทเทรตกรดอ่อน-เบสแก่
(ก) CH3COOH 0.100 M กับ NaOH 0.100 M
(ข) CH3COOH 0.0100 M กับ NaOH 0.0100 M
(ค) CH3COOH 0.00100 M กับ NaOH 0.00100 M
(ก)
(ข)
(ค)
สรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับ
การเลือกอินดิเคเตอร์
CH3COOH(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + CH3COONa(aq)
เปรียบเทียบกราฟการไทเทรต
ระหว่าง
กรดแก่ด้วยเบสแก่
กับ
กรดอ่อนด้วยเบสแก่
อภิปราย
ก่อนจุดสมมูล : ……..
จุดสมมูล : ……….
หลังจุดสมมูล : ………
0.0
2.0
4.0
6.0
8.0
10.0
12.0
14.0
0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0
pH
ปริมาตรสารละลาย NaOH (mL)
Methyl red
(pH4.2-6.3)
Phenolphthalien
(pH8.2-10.0)
Methyl orange
(pH3.1-4.4)
จุดสมมูล (pH=7.00)
จุดสมมูล (pH=8.72)
กราฟการไทเทรต
เบสอ่อน-กรดแก่
0.100 M HCl
0 mL
mmol HCl = mmol NH3
NH3(aq) + HCl(aq) → NH4Cl(aq)
VHCl =
0.100 Mx25.00 mL
0.100 M
VHCl = 25.0 mL
1
จุดเริ่มต้น (VHCl = 0 mL) ในสารละลายมีเพียง NH3 อย่างเดียว
และ NH3 เป็นเบสอ่อน พิจารณาการ
แตกตัวจากค่า Kb = 1.8x10-5
NH3(aq) + H2O → NH4
+
(aq) + OH-
(aq)
0.100 M <0.100 M
2.50 mmol
pOH = -log [OH-
]
= -log 1.3x10-3 = 2.87
pH = 14.0 - 2.87
= 11.13
0.100 M NH3
25.00 mL
-5 -3
= (1.8x10 )(0.100) = 1.3x10 M
- +
4
b
3
[OH ][NH ]
K =
[NH ]
วิธีประมาณค่า -
b b[OH ] = K C
กราฟการไทเทรต
เบสอ่อน-กรดแก่
0.100 M HCl
10.00 mL
2
ช่วงก่อนจุดสมมูล (VHCl=10.00 mL)
1.00 mmol
pOH = 4.57
pH = 14.00 – 4.57 = 9.43
ในสารละลายมีจานวนโมลของ HCl < NH3 เกิดเกลือ NH4Cl ใน
สารละลายประกอบด้วยกรดอ่อนและเกลือของเบสอ่อน >> บัฟเฟอร์เบส
หมายเหตุ การคานวณ pH เมื่อเติม HCl ที่ยังไม่ถึงจุดสมมูล (<2.50 mmol) วิธีคานวณจะ
คานวณเหมือนกันทั้งหมด ค่า pH>7.0
4
b
3
[NH Cl]
pOH = pK + log
[NH ]
mmol NH4Cl(ที่เกิดขึ้น) เท่ากับ mmol
HCl(ที่เติม)
mmol NH3(ที่เหลือ) เท่ากับ
mmol NH3(เริ่มต้น) – mmol HCl(ที่เติม)
(0.100x10.00 = 1.00 mmol)
(2.50 - 1.00 = 1.50 mmol)b
1.00
35.00
pOH = pK + log
1.50
35.00
 
 
 
 
 
 
-5 1.00
pOH = -log(1.8x10 ) + log
1.50
 
 
 
NH3(aq) + HCl(aq) → NH4Cl(aq)
2.50 mmol
0.100 M NH3
25.00 mL
เกิดบัฟเฟอร์
กราฟการไทเทรต
เบสอ่อน-กรดแก่
0.100 M HCl
25.00 mL
3 จุดสมมูล (VHCl=25.00 mL)
2.50 mmol
ในสารละลายมีจานวนโมลของ HCl = NH3 เกิดเกลือ NH4Cl
อย่างสมบูรณ์ หมดสภาพบัฟเฟอร์ และเกลือ NH4Cl
เกิดปฏิกิริยาแยกสลายด้วยน้า
pH = -log(5.27x10-6)
= 5.278
NH4Cl(aq) + H2O(aq) → NH3(aq) + H3O+
(aq) + Cl-(aq)
w 4+
b
K [NH Cl]
[H ] =
K
mmolNH4Cl(ที่เกิดขึ้น) เท่ากับ
mmolNH3(ที่สมมูล)
(0.100x25.00 = 2.50 mmol)
-14
+ -6
-5
2.50
(1.0x10 ) x
50.00
[H ] = = 5.27x10
1.8x10
 
 
 
NH3(aq) + HCl(aq) → NH4Cl(aq)
2.50 mmol
0.100 M NH3
25.00 mL
กราฟการไทเทรต
เบสอ่อน-กรดแก่
0.100 M HCl
26.00 mL
4
ช่วงหลังจุดสมมูล (VHCl=26.00 mL)
2.60 mmol
ในสารละลายมีจานวนโมลของ HCl > NH3
mmol HCl = mmolHCl(ที่เติม) – mmolNH3(ที่สมมูล)
= 2.60 – 2.50
= 0.10 mmol
[HCl]ที่เหลือ = = 0.0020 M0.10 mmol
51.00 mL
HCl(aq) → H+
(aq) + Cl-
(aq)
0.0020 M 0.0020 M
pH = -log(2.0x10-3
) = 2.71
หมายเหตุ การคานวณ pH เมื่อเติม HCl ที่เกินจุดสมมูล (>2.50 mmol) วิธีคานวณจะคานวณ
เหมือนกันทั้งหมด ค่า pH<7.0
NH3(aq) + HCl(aq) → NH4Cl(aq)
2.50 mmol
0.100 M NH3
25.00 mL
กราฟการไทเทรต
เบสอ่อน-กรดแก่
0.100 M HCl
x mL VHCl (mL) pH VHCl (mL) pH
0.00 11.13 25.01 4.699
1.00 10.64 25.10 3.700
5.00 9.86 25.50 3.004
10.00 9.43 26.00 2.708
12.50 9.26 30.00 2.041
15.00 9.08 35.00 1.778
20.00 8.65 40.00 1.637
24.00 7.88 45.00 1.544
24.50 7.57 50.00 1.478
24.90 6.86
24.99 5.86
25.00 5.278
ค่า pH การไทเทรตสารละลาย NH3 0.100 mol/L ด้วยสารละลาย HCl 0.100 mol/L
NH3(aq) + HCl(aq) → NH4Cl(aq)
0.100 M NH3
25.00 mL
กราฟการไทเทรตเบสอ่อน-กรดแก่
สรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับ
การเลือกอินดิเคเตอร์
0.0
2.0
4.0
6.0
8.0
10.0
12.0
0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0
pH
ปริมาตรสารละลาย NaOH (mL)
จุดสมมูล (pH=5.278)
NH3(aq) + HCl(aq) → NH4Cl(aq)
pH = pKb
Methyl red
(pH4.2-6.3)
จงแสดงการสร้างกราฟการไทเทรตปฏิกิริยากรด-เบส เมื่อ
ใช้สารละลาย HCl 0.100 mol/L ปริมาตร 30.00 mL
ไทเทรตด้วยสารละลาย KOH 0.150 mol/L โดยนักศึกษาให้
กาหนดปริมาตรสารละลาย NaOH ให้เป็นช่วงก่อนจุดสมมูล
และหลังจุดสมมูล ช่วงละอย่างน้อย 2 จุด
กิจกรรม 5.1
0.100 M HCl
30.00 mL
0.150 M KOH
x mL
ผู้เขียนมีความตั้งใจอย่างมากที่จะเรียบเรียง
หนังสือเล่มนี้เพื่อให้เป็นส่วนหนึ่งของรากฐาน
ศาสตร์แห่งเคมีวิเคราะห์ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
หนังสือเล่มนี้จะเป็นส่วนหนึ่งในการเพิ่มพู น
ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการคานวณเชิง
ปริมาณ สาหรับนิสิต นักศึกษา นักวิจัย และผู้ที่
สนใจสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา การ
ประกอบวิชาชีพและการค้นคว้าวิจัยต่อไป
ผศ.ดร.วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ

Más contenido relacionado

Más de Dr.Woravith Chansuvarn

Más de Dr.Woravith Chansuvarn (20)

Periodic Table
Periodic TablePeriodic Table
Periodic Table
 
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
 
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ของเหลว (Liquid)
ของเหลว (Liquid)ของเหลว (Liquid)
ของเหลว (Liquid)
 
ของแข็ง (Solid)
ของแข็ง (Solid)ของแข็ง (Solid)
ของแข็ง (Solid)
 
แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)
 
AnalChem: UV-Vis
AnalChem: UV-VisAnalChem: UV-Vis
AnalChem: UV-Vis
 
AnalChem: Complexometric titration
AnalChem: Complexometric titrationAnalChem: Complexometric titration
AnalChem: Complexometric titration
 
AnalChem : Basic of Spectroscopy
AnalChem : Basic of SpectroscopyAnalChem : Basic of Spectroscopy
AnalChem : Basic of Spectroscopy
 
AnalChem : Basic of Electrochemistry
AnalChem : Basic of ElectrochemistryAnalChem : Basic of Electrochemistry
AnalChem : Basic of Electrochemistry
 
AnalChem : Volumetric Method
AnalChem : Volumetric MethodAnalChem : Volumetric Method
AnalChem : Volumetric Method
 
AnalChem : Concentration
AnalChem : ConcentrationAnalChem : Concentration
AnalChem : Concentration
 
AnalChem : Overview
AnalChem : OverviewAnalChem : Overview
AnalChem : Overview
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียม
 
Rubber : ยาง
Rubber : ยางRubber : ยาง
Rubber : ยาง
 
Plastic : พลาสติก
Plastic : พลาสติกPlastic : พลาสติก
Plastic : พลาสติก
 

AnalChem: acidbase titration

  • 2. การไทเทรต กรด-เบส 5.1 พื้นฐานเกี่ยวกับกรด-เบส กราฟการไทเทรต การไทเทรตระหว่างกรดแก่-เบสแก่ การไทเทรตระหว่างกรดอ่อน-เบสแก่ และเบสอ่อน-กรดแก่ // แผนการสอนและประเมินผลการเรียนรู้ • ทฤษฎีกรด-เบส • ความแรงของกรด-เบส • ค่าคงที่การแตกตัวของกรด-เบส • ค่า pH • ปฏิกิริยาการแยกสลายด้วยน้า • บัฟเฟอร์ • อินดิเคเตอร์กรด-เบส
  • 3. https://chem.libretexts.org/Bookshelves/Analytical_Chemistry เอกสารประกอบการสอน http://www.slideshare.net/woravith http://web.rmutp.ac.th/woravith ChemoGraphics ▪ วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ. 2563. เคมีวิเคราะห์ (หลักการและเทคนิคการคานวณเชิงปริมาณ). สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • 4. แตกตัวได้ 100% แตกตัวได้ <100% [H+ ]ที่แตกตัว = pH = -log [H+ ] pOH = -log [OH- ] pH = 14 - pOH KaCa strongelectrolyte weakelectrolyte กรดอ่อน เบสอ่อน กรดแก่ เบสแก่ [OH- ]ที่แตกตัว = KbCb [H+ ]ที่แตกตัว = [C]เริ่มต้น [OH- ]ที่แตกตัว = [C]เริ่มต้น #ทบทวน
  • 6. ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส เรียกว่า ปฏิกิริยาสะเทิน หรือ ปฏิกิริยาทาให้เป็นกลาง (neutralization reaction) ปฏิกิริยาสะเทินเกิดผลิตภัณฑ์ได้เกลือ (salt) และน้า ปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่กับเบสแก่1 ปฏิกิริยาระหว่างกรดอ่อนกับเบสแก่2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่กับเบสอ่อน3 ปฏิกิริยาระหว่างกรดอ่อนกับเบสอ่อน4
  • 7. ปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่กับเบสแก่ ปฏิกิริยาระหว่างเบสอ่อนกับกรดแก่ กรดแก่ แตกตัวเป็น H+ อย่างสมบูรณ์ เบสแก่ แตกตัวเป็น OH- อย่างสมบูรณ์ เกลือที่เกิดจากกรดแก่กับเบสแก่ไม่เกิดปฏิกิริยา แยกสลายด้วน้า ที่จุดสมมูล สารละลายมี pH = 7 HCl + NaOH → NaCl + H2O H+ + Cl- Na+ + OH- กรดอ่อน แตกตัวเป็น H+ อย่างไม่สมบูรณ์ เบสแก่ แตกตัวเป็น OH- อย่างสมบูรณ์ CH3COOH + NaOH → CH3COONa + H2O เกลือ CH3COONa ทาปฏิกิริยาแยกสลายด้วยน้า เกิดอนุมูล OH- CH3COO- + H2O → CH3COOH + OH- ที่จุดสมมูล สารละลายมี pH > 7 Na+ + CH3COO- กรดแก่ แตกตัวเป็น H+ อย่างสมบูรณ์ เบสอ่อน แตกตัวเป็น OH- อย่างไม่สมบูรณ์ HCl + NH3 → NH4Cl NH4 ++ OH-H+ + Cl- CH3COOH + NH3 → CH3COO- + NH4 + เกลือ CH3COO- และ NH4 + สามารถเกิดปฏิกิริยาแยกสลายด้วยน้าได้ เกิดอนุมูล H+ หรือ OH- ที่จุดสมมูล สารละลายจึงเป็นกรดหรือเบสที่อ่อนมาก ขึ้นกับ ชนิดของกรดอ่อนและเบสอ่อน ปฏิกิริยาระหว่างเบสอ่อนกับกรดอ่อน กรดอ่อน แตกตัวเป็น H+ อย่างไม่สมบูรณ์ เบสอ่อน แตกตัวเป็น OH- อย่างไม่สมบูรณ์ ปฏิกิริยาระหว่างกรดอ่อนกับเบสแก่ ที่จุดสมมูล สารละลายมี pH < 7 NH4 + + H2O → NH3 + H3O+ เกลือ NH4Cl ทาปฏิกิริยาแยกสลายด้วยน้า เกิดอนุมูล H+
  • 8. จุดเริ่มต้น (initial point) การคานวณค่า pH แต่ละจุด (ช่วง) ขึ้นกับชนิดของ กรดและเบส ช่วงก่อนจุดสมมูล (pre-equivalent point) จุดสมมูล (equivalent point) ช่วงหลังจุดสมมูล (post-equivalent point) กรด – titrant เบส – titrand เบส – titrant กรด – titrant 1 2 3 4
  • 9. จุดทางทฤษฎีที่จานวนโมลของตัวไทเทรตและตัวถูกไทเทรต ทาปฏิกิริยากันพอดีตามปริมาณสัมพันธ์ จุดสมมูล mmol B = mmol A คานวณปริมาตรตัวไทเทรตที่จุดสมมูล เพื่อกาหนดช่วงการคานวณค่า pH MBVB = MAVA • ถ้าปริมาตรตัวไทเทรตที่เติม < VB แสดงว่าเป็นจุดก่อนสมมูล • ถ้าปริมาตรตัวไทเทรตที่เติม = VB แสดงว่าเป็นจุดสมมูล • ถ้าปริมาตรตัวไทเทรตที่เติม > VB แสดงว่าเป็นจุดหลังสมมูล VB = MAVA MB A + B → PB A
  • 10. แนวคิดการคานวณ pH ของการไทเทรตกรดแก่-เบสแก่ จุดเริ่มต้น (VB=0) ค่า pH คานวณอย่างกรดแก่เริ่มต้น จุดเริ่มต้น (VA=0) ค่า pH คานวณอย่างเบสแก่เริ่มต้น การไทเทรตกรดแก่ด้วยเบสแก่ การไทเทรตเบสแก่ด้วยกรดแก่ 1 ช่วงก่อนจุดสมมูล (VB<VA) ค่า pH คานวณอย่างกรดแก่ที่เหลือ ช่วงก่อนจุดสมมูล (VA<VB) ค่า pH คานวณอย่างเบสแก่ที่เหลือ2 จุดสมมูล (VB=VA) ค่า pH คานวณจากการแตกตัวของน้า จุดสมมูล (VA=VB) ค่า pH คานวณจากการแตกตัวของน้า3 ช่วงหลังจุดสมมูล (VB>VA) ค่า pH คานวณตามเบสแก่ที่เกิน ช่วงหลังจุดสมมูล (VA>VB) ค่า pH คานวณตามกรดแก่ที่เกิน 4
  • 11. กราฟการไทเทรต กรดแก่-เบสแก่ 0.100 M NaOH 0.100 M HCl 25.00 mL mmol NaOH = mmol HCl HCl(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + NaCl(aq) VNaOH= 0.100 Mx25.00 mL 0.100 M VNaOH = 25.0 mL 1 จุดเริ่มต้น (VNaOH=0 mL) ในสารละลายมีเพียง HCl 0.100 mol/L อย่างเดียว และ HCl เป็นกรดแก่ HCl(aq) → H+ (aq) + Cl- (aq) 0.100 M 0.100 M 0.100 M pH = -log [H+ ] = -log(1.00x10-1 ) = 1.000 2.50 mmol
  • 12. กราฟการไทเทรต กรดแก่-เบสแก่ 0.100 M NaOH 10.0 mL 0.100 M HCl 25.00 mL HCl(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + NaCl(aq) 2 ช่วงก่อนจุดสมมูล (VNaOH=10.00 mL) 2.50 mmol 1.00 mmol mmol HCl = mmol HCl(เริ่มต้น) – mmol NaOH(ที่เติม) = 2.50 – 1.00 = 1.50 mmol [HCl]ที่เหลือ = = 0.0428 M 1.50 mmol 35.00 mL HCl(aq) → H+ (aq) + Cl- (aq) 0.0428 M 0.0428 M pH = -log [H+ ] = -log(4.28x10-2 ) = 1.368 ในสารละลายมีจานวนโมลของ HCl มากกว่า NaOH หมายเหตุ การคานวณ pH เมื่อเติม NaOH ที่ยังไม่ถึงจุดสมมูล (<2.50 mmol) วิธีคานวณ จะคานวณเหมือนกันทั้งหมด ค่า pH<7.0 mmol NaOH < mmol HCl
  • 13. กราฟการไทเทรต กรดแก่-เบสแก่ 0.100 M NaOH 25.00 mL 0.100 M HCl 25.00 mL HCl(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + NaCl(aq) 3 จุดสมมูล (VNaOH=25.00 mL) 2.50 mmol 2.50 mmol pH = -log [H+ ] = -log(1.0x10-7 ) = 7.00 ในสารละลายมีจานวนโมลของ HCl เท่ากับ NaOH ที่จุดสมมูลเกิดเกลือและน้า การคานวณ pH คิดจากการ แตกตัวของน้า เมื่อกาหนดให้ [H3O+] = [OH-] = x ดังนั้น x2 = 1.0x10-14 x = 1.0x10-7 [H3O+] = [OH-] = 1.00x10-7 2H2O(l) → H3O+ (aq) + OH- (aq) Kw=[H3O+][OH-]=1.0x10-14 mmol NaOH = mmol HCl
  • 14. กราฟการไทเทรต กรดแก่-เบสแก่ 0.100 M NaOH 26.0 mL 0.100 M HCl 25.00 mL HCl(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + NaCl(aq) 4 ช่วงหลังจุดสมมูล (VNaOH=26.00 mL) 2.50 mmol 2.60 mmol mmol NaOH = mmol NaOH(ที่เติม) – mmol NaOH(ที่สมมูล) = 2.60 – 2.50 = 0.10 mmol [NaOH]ที่เหลือ = = 0.0020 M 0.10 mmol 51.00 mL NaOH(aq) → OH- (aq) + Na+ (aq) 0.0020 M 0.0020 M pOH = -log [OH- ] = -log(2.0x10-3 ) = 2.71 ในสารละลายมีจานวนโมลของ NaOH มากกว่า HCl หมายเหตุ การคานวณ pH เมื่อเติม NaOH ที่เกินจุดสมมูล (>2.50 mmol) วิธีคานวณจะคานวณ เหมือนกันทั้งหมด ค่า pH>7.0 pH = 14.0 – pOH = 14.0 – 2.71 = 11.29 mmol NaOH > mmol HCl
  • 15. กราฟการไทเทรต กรดแก่-เบสแก่ 0.100 M NaOH 0.100 M HCl 25.00 mL HCl(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + NaCl(aq) 0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 12.0 14.0 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0 pH ปริมาตรสารละลาย NaOH (mL)
  • 16. กราฟการไทเทรต กรดแก่-เบสแก่ 0.100 M NaOH x mL 0.100 M HCl 25.00 mL HCl(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + NaCl(aq) VNaOH (mL) pH VNaOH (mL) pH 0.00 1.000 25.01 9.301 1.00 1.035 25.10 10.30 5.00 1.176 25.50 11.00 10.00 1.368 26.00 11.29 12.50 1.477 28.00 11.75 15.00 1.602 30.00 11.96 20.00 1.954 35.00 12.22 24.00 2.690 40.00 12.36 24.50 2.996 45.00 12.46 24.90 3.698 50.00 12.52 25.00 7.00 ค่า pH การไทเทรตสารละลาย HCl 0.100 mol/L ด้วยสารละลาย NaOH 0.100 mol/L
  • 17. 0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 12.0 14.0 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0 pH ปริมาตรสารละลาย NaOH (mL) 24.90 mL, pH=3.698 25.10 mL, pH=10.30 methyl red (pH4.2-6.3) จุดสมมูล (25.00 mL, pH=7.00) phenolphthalien (pH8.2-10.0) กราฟการไทเทรตกรดแก่-เบสแก่ สรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับ การเลือกอินดิเคเตอร์ HCl(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + NaCl(aq)
  • 18. 0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 12.0 14.0 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0 pH ปริมาตรสารละลาย NaOH (mL) กราฟการไทเทรตกรดแก่-เบสแก่ (ก) HCl 0.100 M กับ NaOH 0.100 M (ข) HCl 0.0100 M กับ NaOH 0.0100 M (ค) HCl 0.00100 M กับ NaOH 0.00100 M (ก) (ข) (ค) phenolphthalien (pH8.2-10.0) methyl red (pH4.4-6.3) สรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับ การเลือกอินดิเคเตอร์ HCl(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + NaCl(aq) จุดสมมูล (pH=7.00)
  • 19. กราฟการไทเทรต เบสแก่-กรดแก่ 0.100 M HCl x mL 0.100 M KOH 25.00 mL HCl(aq) + KOH(aq) → H2O(aq) + KCl(aq) ค่า pH การไทเทรตสารละลาย KOH 0.100 mol/L ด้วยสารละลาย HCl 0.100 mol/L VNaOH (mL) pH VNaOH (mL) pH 0.00 13.00 25.01 4.699 1.00 12.96 25.10 3.699 5.00 12.82 25.50 3.004 10.00 12.63 26.00 2.708 12.50 12.52 28.00 2.247 15.00 12.40 30.00 2.041 20.00 12.05 35.00 1.778 24.00 11.31 40.00 1.637 24.50 11.00 45.00 1.544 24.90 10.30 50.00 1.478 25.00 7.00
  • 20. 0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 12.0 14.0 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0 pH ปริมาตรสารละลาย HCl (mL) กราฟการไทเทรตกรดแก่-เบสแก่ Methyl red (pH4.2-6.3) จุดสมมูล (25.00 mL, pH=7.00) Phenolphthalien (pH8.2-10.0) สรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับ การเลือกอินดิเคเตอร์ HCl(aq) + KOH(aq) → H2O(aq) + KCl(aq)
  • 21. แนวคิดการคานวณ pH ของการไทเทรตกรดอ่อน-เบสแก่ และเบสอ่อน-กรดแก่ จุดเริ่มต้น (VB=0) ค่า pH คานวณอย่างกรดอ่อนเริ่มต้น จุดเริ่มต้น (VA=0) ค่า pH คานวณอย่างเบสอ่อนเริ่มต้น การไทเทรตกรดแก่ด้วยเบสแก่ การไทเทรตเบสแก่ด้วยกรดแก่ 1 ช่วงก่อนจุดสมมูล (VB<VA) ค่า pH คานวณอย่างบัฟเฟอร์กรด ช่วงก่อนจุดสมมูล (VA<VB) ค่า pH คานวณอย่างบัฟเฟอร์เบส2 จุดสมมูล (VB=VA) ค่า pH คานวณจากปฏิกิริยาแยกสลายด้วยน้า จุดสมมูล (VA=VB) ค่า pH คานวณจากปฏิกิริยาแยกสลายด้วยน้า3 ช่วงหลังจุดสมมูล (VB>VA) ค่า pH คานวณตามเบสแก่ที่เกิน ช่วงหลังจุดสมมูล (VA>VB) ค่า pH คานวณตามกรดแก่ที่เกิน 4
  • 22. กราฟการไทเทรต กรดอ่อน-เบสแก่ 0.100 M NaOH 0 mL 0.100 M CH3COOH 25.00 mL mmol NaOH = mmol HOAc CH3COOH(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + CH3COONa(aq) VNaOH= 0.100 Mx25.00 mL 0.100 M VNaOH = 25.0 mL 1 จุดเริ่มต้น (VNaOH = 0 mL) ในสารละลายมี CH3COOH เพียงอย่างเดียว และ CH3COOH เป็นกรดอ่อน พิจารณาการ แตกตัวจากค่า Ka=1.8x10-5 CH3COOH(aq) → H+ (aq) + CH3COO- (aq) 0.100 M <0.100 M 2.50 mmol pH = -log [H+ ] = -log(1.3x10-3 ) = 2.89 -5 -3 = (1.8x10 )(0.100) = 1.3x10 M - + 3 a 3 [CH COO ][H ] K = [CH COOH] วิธีประมาณค่า + a a[H ] = K C
  • 23. กราฟการไทเทรต กรดอ่อน-เบสแก่ 0.100 M NaOH 10.00 mL 2 ช่วงก่อนจุดสมมูล (VNaOH=10.00 mL) 2.50 mmol 1.00 mmol pH = 4.57 ในสารละลายมีจานวนโมลของ NaOH < CH3COOH เกิดเกลือ CH3COONa ในสารละลายประกอบด้วยกรดอ่อนและเกลือของกรดอ่อน >> บัฟเฟอร์กรด หมายเหตุ การคานวณ pH เมื่อเติม NaOH ที่ยังไม่ถึงจุดสมมูล (<2.50 mmol) วิธีคานวณ จะคานวณเหมือนกันทั้งหมด ค่า pH<7.0 CH3COOH(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + CH3COONa(aq) 3 a 3 [CH COONa] pH = pK + log [CH COOH] mmol CH3COONa(ที่เกิดขึ้น) เท่ากับ mmol NaOH(ที่เติม) mmol CH3COOH(ที่เหลือ) เท่ากับ mmol CH3COOH(เริ่มต้น) – mmol NaOH(ที่เติม) (0.100x10.00 = 1.00 mmol) (2.50 - 1.00 = 1.50 mmol) a 1.00 35.00 pH = pK + log 1.50 35.00             -5 1.00 pH = -log(1.8x10 ) + log 1.50 เกิดบัฟเฟอร์ 0.100 M CH3COOH 25.00 mL
  • 24. กราฟการไทเทรต กรดอ่อน-เบสแก่ 0.100 M NaOH 25.00 mL 3 จุดสมมูล (VNaOH=25.00 mL) 2.50 mmol 2.50 mmol ในสารละลายมีจานวนโมลของ NaOH = CH3COOH เกิดเกลือ CH3COONa อย่างสมบูรณ์ หมดสภาพบัฟเฟอร์ และเกลือ CH3COONa เกิดปฏิกิริยาแยกสลายด้วยน้า CH3COOH(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + CH3COONa(aq) pOH = -log(5.27x10-6) = 5.278 pH = 14.0 – 5.278 = 8.72 CH3COONa(aq) + H2O(aq) → CH3COOH(aq) + OH- (aq) + Na+(aq) w 3- a K [CH COONa] [OH ] = K mmol CH3COONa(ที่เกิดขึ้น) เท่ากับ mmol NaOH(ที่สมมูล) (0.100x25.00 = 2.50 mmol) -14 - -6 -5 2.50 (1.0x10 ) x 50.00 [OH ] = = 5.27x10 1.8x10       0.100 M CH3COOH 25.00 mL
  • 25. กราฟการไทเทรต กรดอ่อน-เบสแก่ 0.100 M NaOH 26.00 mL 4 ช่วงหลังจุดสมมูล (VNaOH=26.00 mL) 2.50 mmol 2.60 mmol ในสารละลายมีจานวนโมลของ NaOH > CH3COOH CH3COOH(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + CH3COONa(aq) mmolNaOH = mmolNaOH(ที่เติม) – mmolNaOH(ที่สมมูล) = 2.60 – 2.50 = 0.10 mmol [NaOH]ที่เหลือ = = 0.0020 mol/L 0.10 mmol 51.00 mL NaOH(aq) → OH- (aq) + Na+ (aq) 0.0020 M 0.0020 M pOH = -log [OH- ] = -log(2.0x10-3 ) = 2.71 หมายเหตุ การคานวณ pH เมื่อเติม NaOH ที่เกินจุดสมมูล (>2.50 mmol) วิธีคานวณจะคานวณ เหมือนกันทั้งหมด ค่า pH>7.0 pH = 14.0 – pOH = 14.0 – 2.71 = 11.29 0.100 M CH3COOH 25.00 mL
  • 26. กราฟการไทเทรต กรดอ่อน-เบสแก่ 0.100 M NaOH x mL VNaOH (mL) pH VNaOH (mL) pH 0.00 2.89 25.01 9.30 1.00 3.36 25.10 10.30 5.00 4.14 25.50 11.00 10.00 4.57 26.00 11.29 12.50 4.74 30.00 11.96 15.00 4.92 35.00 12.22 20.00 5.35 40.00 12.36 24.00 6.12 45.00 12.46 24.50 6.43 50.00 12.52 24.90 7.14 24.99 8.14 25.00 8.72 ค่า pH การไทเทรตสารละลาย CH3COOH 0.100 mol/L ด้วยสารละลาย NaOH 0.100 mol/L CH3COOH(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + CH3COONa(aq) 0.100 M CH3COOH 25.00 mL
  • 27. กราฟการไทเทรตกรดอ่อน-เบสแก่ 50.00 mL pH=12.52 12.50 mL pH=pKa =4.74 สรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับ การเลือกอินดิเคเตอร์ 0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 12.0 14.0 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0 pH ปริมาตรสารละลาย NaOH (mL) CH3COOH(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + CH3COONa(aq) Methyl red (pH4.4-6.3) จุดสมมูล (25.00 mL, pH=8.72) Phenolphthalien (pH8.2-10.0)
  • 28. 12.50 mL pH=pKa =4.74 Methyl red (pH4.4-6.3) Phenolphthalien (pH8.2-10.0) 0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 12.0 14.0 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0 pH ปริมาตรสารละลาย NaOH (mL) กราฟการไทเทรตกรดอ่อน-เบสแก่ (ก) CH3COOH 0.100 M กับ NaOH 0.100 M (ข) CH3COOH 0.0100 M กับ NaOH 0.0100 M (ค) CH3COOH 0.00100 M กับ NaOH 0.00100 M (ก) (ข) (ค) สรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับ การเลือกอินดิเคเตอร์ CH3COOH(aq) + NaOH(aq) → H2O(aq) + CH3COONa(aq)
  • 29. เปรียบเทียบกราฟการไทเทรต ระหว่าง กรดแก่ด้วยเบสแก่ กับ กรดอ่อนด้วยเบสแก่ อภิปราย ก่อนจุดสมมูล : …….. จุดสมมูล : ………. หลังจุดสมมูล : ……… 0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 12.0 14.0 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0 pH ปริมาตรสารละลาย NaOH (mL) Methyl red (pH4.2-6.3) Phenolphthalien (pH8.2-10.0) Methyl orange (pH3.1-4.4) จุดสมมูล (pH=7.00) จุดสมมูล (pH=8.72)
  • 30. กราฟการไทเทรต เบสอ่อน-กรดแก่ 0.100 M HCl 0 mL mmol HCl = mmol NH3 NH3(aq) + HCl(aq) → NH4Cl(aq) VHCl = 0.100 Mx25.00 mL 0.100 M VHCl = 25.0 mL 1 จุดเริ่มต้น (VHCl = 0 mL) ในสารละลายมีเพียง NH3 อย่างเดียว และ NH3 เป็นเบสอ่อน พิจารณาการ แตกตัวจากค่า Kb = 1.8x10-5 NH3(aq) + H2O → NH4 + (aq) + OH- (aq) 0.100 M <0.100 M 2.50 mmol pOH = -log [OH- ] = -log 1.3x10-3 = 2.87 pH = 14.0 - 2.87 = 11.13 0.100 M NH3 25.00 mL -5 -3 = (1.8x10 )(0.100) = 1.3x10 M - + 4 b 3 [OH ][NH ] K = [NH ] วิธีประมาณค่า - b b[OH ] = K C
  • 31. กราฟการไทเทรต เบสอ่อน-กรดแก่ 0.100 M HCl 10.00 mL 2 ช่วงก่อนจุดสมมูล (VHCl=10.00 mL) 1.00 mmol pOH = 4.57 pH = 14.00 – 4.57 = 9.43 ในสารละลายมีจานวนโมลของ HCl < NH3 เกิดเกลือ NH4Cl ใน สารละลายประกอบด้วยกรดอ่อนและเกลือของเบสอ่อน >> บัฟเฟอร์เบส หมายเหตุ การคานวณ pH เมื่อเติม HCl ที่ยังไม่ถึงจุดสมมูล (<2.50 mmol) วิธีคานวณจะ คานวณเหมือนกันทั้งหมด ค่า pH>7.0 4 b 3 [NH Cl] pOH = pK + log [NH ] mmol NH4Cl(ที่เกิดขึ้น) เท่ากับ mmol HCl(ที่เติม) mmol NH3(ที่เหลือ) เท่ากับ mmol NH3(เริ่มต้น) – mmol HCl(ที่เติม) (0.100x10.00 = 1.00 mmol) (2.50 - 1.00 = 1.50 mmol)b 1.00 35.00 pOH = pK + log 1.50 35.00             -5 1.00 pOH = -log(1.8x10 ) + log 1.50       NH3(aq) + HCl(aq) → NH4Cl(aq) 2.50 mmol 0.100 M NH3 25.00 mL เกิดบัฟเฟอร์
  • 32. กราฟการไทเทรต เบสอ่อน-กรดแก่ 0.100 M HCl 25.00 mL 3 จุดสมมูล (VHCl=25.00 mL) 2.50 mmol ในสารละลายมีจานวนโมลของ HCl = NH3 เกิดเกลือ NH4Cl อย่างสมบูรณ์ หมดสภาพบัฟเฟอร์ และเกลือ NH4Cl เกิดปฏิกิริยาแยกสลายด้วยน้า pH = -log(5.27x10-6) = 5.278 NH4Cl(aq) + H2O(aq) → NH3(aq) + H3O+ (aq) + Cl-(aq) w 4+ b K [NH Cl] [H ] = K mmolNH4Cl(ที่เกิดขึ้น) เท่ากับ mmolNH3(ที่สมมูล) (0.100x25.00 = 2.50 mmol) -14 + -6 -5 2.50 (1.0x10 ) x 50.00 [H ] = = 5.27x10 1.8x10       NH3(aq) + HCl(aq) → NH4Cl(aq) 2.50 mmol 0.100 M NH3 25.00 mL
  • 33. กราฟการไทเทรต เบสอ่อน-กรดแก่ 0.100 M HCl 26.00 mL 4 ช่วงหลังจุดสมมูล (VHCl=26.00 mL) 2.60 mmol ในสารละลายมีจานวนโมลของ HCl > NH3 mmol HCl = mmolHCl(ที่เติม) – mmolNH3(ที่สมมูล) = 2.60 – 2.50 = 0.10 mmol [HCl]ที่เหลือ = = 0.0020 M0.10 mmol 51.00 mL HCl(aq) → H+ (aq) + Cl- (aq) 0.0020 M 0.0020 M pH = -log(2.0x10-3 ) = 2.71 หมายเหตุ การคานวณ pH เมื่อเติม HCl ที่เกินจุดสมมูล (>2.50 mmol) วิธีคานวณจะคานวณ เหมือนกันทั้งหมด ค่า pH<7.0 NH3(aq) + HCl(aq) → NH4Cl(aq) 2.50 mmol 0.100 M NH3 25.00 mL
  • 34. กราฟการไทเทรต เบสอ่อน-กรดแก่ 0.100 M HCl x mL VHCl (mL) pH VHCl (mL) pH 0.00 11.13 25.01 4.699 1.00 10.64 25.10 3.700 5.00 9.86 25.50 3.004 10.00 9.43 26.00 2.708 12.50 9.26 30.00 2.041 15.00 9.08 35.00 1.778 20.00 8.65 40.00 1.637 24.00 7.88 45.00 1.544 24.50 7.57 50.00 1.478 24.90 6.86 24.99 5.86 25.00 5.278 ค่า pH การไทเทรตสารละลาย NH3 0.100 mol/L ด้วยสารละลาย HCl 0.100 mol/L NH3(aq) + HCl(aq) → NH4Cl(aq) 0.100 M NH3 25.00 mL
  • 35. กราฟการไทเทรตเบสอ่อน-กรดแก่ สรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับ การเลือกอินดิเคเตอร์ 0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 12.0 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0 pH ปริมาตรสารละลาย NaOH (mL) จุดสมมูล (pH=5.278) NH3(aq) + HCl(aq) → NH4Cl(aq) pH = pKb Methyl red (pH4.2-6.3)
  • 36. จงแสดงการสร้างกราฟการไทเทรตปฏิกิริยากรด-เบส เมื่อ ใช้สารละลาย HCl 0.100 mol/L ปริมาตร 30.00 mL ไทเทรตด้วยสารละลาย KOH 0.150 mol/L โดยนักศึกษาให้ กาหนดปริมาตรสารละลาย NaOH ให้เป็นช่วงก่อนจุดสมมูล และหลังจุดสมมูล ช่วงละอย่างน้อย 2 จุด กิจกรรม 5.1 0.100 M HCl 30.00 mL 0.150 M KOH x mL
  • 37. ผู้เขียนมีความตั้งใจอย่างมากที่จะเรียบเรียง หนังสือเล่มนี้เพื่อให้เป็นส่วนหนึ่งของรากฐาน ศาสตร์แห่งเคมีวิเคราะห์ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะเป็นส่วนหนึ่งในการเพิ่มพู น ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการคานวณเชิง ปริมาณ สาหรับนิสิต นักศึกษา นักวิจัย และผู้ที่ สนใจสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา การ ประกอบวิชาชีพและการค้นคว้าวิจัยต่อไป ผศ.ดร.วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ