SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 42
ความสามารถในการคิด
นักจิตวิทยาและนักการศึกษาหลายท่านได้แสดงแนวคิด
เกี่ยวกับ การคิดว่าเป็นกระบวนการที่มีความซับซ้อนและ
เกี่ยวข้องกับทักษะหลายด้าน โดนมีจุดมุ่งหมายเพื่อแก้ปัญหา
ในสิ่งที่กาลังเผชิญอยู่
การคิดเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนซึ่งต้องใช้ทักษะหลาย
ด้านร่วมกันในการแก้ปัญหา โดนทั่วไปสามารถจาแนกการคิด
ได้เป็น 2 ระดับ ได้แก่
ความสามารถในการคิด
1.การคิดระดับต้น (lower-order thinking) เป็นการคิดที่ต้อง
อาศัยทักษะขั้นพื้นฐานในการแก้ปัญหาทั่วไปที่ไม่ซับซ้อน
ประกอบด้วย การคิดเกี่ยวกับความจาได้หรือระลึกได้ การทาความ
เข้าใจ การแปลความหมาย การนาความรู้ไปใช้
2.การคิดระดับสูง (higher-order thinking) เป็นการคิดที่มี
ความซับซ้อนมากกว่าการคิดระดับต้นและต้องใช้ทักษะหลายด้าน
พร้อมกันในการแก้ปัญหา แต่ต้องอาศัยการคิดระดับต้นเป็นพื้นฐาน
จาแนกการคิดได้เป็น 2 ระดับ
กระบวนการคิดระดับสูง 4 ด้าน
• การแก้ปัญหา เป็นความสามารถที่เน้นการมองเห็นปัญหา การใช้ความรู้ และการ
เลือกวิธีในการแก้ปัญหา
• การคิดวิเคราะห์วิจารณ์ เป็นความสามารถที่เกี่ยวข้องกับการทาความเข้าใจ และ
วิเคราะห์เพื่อลงข้อสรุป ซึ่งต้องอาศัยทักษะพื้นฐาน คือ ทักษะการอ่าน และทักษะ
การเขียน
• การตัดสินใจ เพื่อพิจารณาและตัดสินใจเลือกทางเลือกอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา
จากข้อเท็จจริงและทางเลือกต่างๆ พร้อมทั้งแสดงข้อสนับสนุนหรือโต้แย้งที่เป็นผล
ของการตัดสินใจ
• การคิดสร้างสรรค์ เป็นความสามารถในการคิดที่มีการสร้างหรือขยายแนวคิดเดิม
หรือสร้างแนวคิดใหม่ที่ต่างจากเดิม เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆที่มี
ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ต้องอาศัยความรู้พื้นฐาน จินตนาการ และใช้วิธีการ
แก้ปัญหาในทางสร้างสรรค์
การประเมินความสามารถในการคิด
1.จุดมุ่งหมายในการประเมินความสาเร็จในการคิด
1) เป็นตัวบ่งชี้ถึงความพร้อมในการเรียนรู้ของผู้เรียน
2) ระบุจุดเด่นและจุดด้อยในการเรียนของผู้เรียน
3) เป็นแนวทางในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและการจัด
การเรียนรู้ของผู้สอน
2.วิธีการประเมินความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิดมีเป้าหมายการวัดที่เน้นกระบวนการ
คิดหรือวิธีการในการแก้ปัญหามากกว่าความรู้ในเนื้อหาวิชา เครื่องมือ
ที่ใช้วัดความสามารถในการคิดจึงหลีกเลี่ยงการวัดความรู้ความจา แต่
เน้นการมองเห็นปัญหา การค้นหาวิธีการและการตัดสินใจเลือกวิธีการ
แก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ซึ่งเครื่องมือวัดมีดังนี้
1. ข้อสอบแบบเลือกตอบ มี 2 ลักษณะ คือ
1.1 ข้อสอบเลือกตอบแบบคาถามเดี่ยว
1.2 ข้อสอบเลือกตอบแบบคาถาม 2 ชั้น
2. ข้อสอบแบบเขียนตอบ
เครื่องมือวัดประเมินความสามารถในการคิด
3.ขั้นตอนการสร้างข้อสอบวัดความสามารถในการคิด
การสร้างเครื่องมือเพื่อวัดความสามารถในการคิด มีขั้นตอนการ
สร้างคล้ายกับเครื่องมือวัดผลโดยทั่วไป กล่าวคือ ผู้สร้างจะต้องมีกร
วางแผนการสร้างก่อนลงมือเขียนข้อสอบและทาความเข้าใจเกี่ยวกับ
ลักษณะของการคิดแต่ละด้าน และกาหนดนิยามพฤติกรรมที่มี
ลักษณะเฉพาะของการคิดแต่ละด้าน ขั้นตอนการสร้างข้อสอบที่ใช้วัด
ความสามารถในการคิด ดังนี้
การวางแผนการสร้างข้อสอบ
1. วิเคราะห์พฤติกรรมในแต่ละด้านและกาหนดลักษณะเฉพาะ
หรือตัวบ่งชี้
การวิเคราะห์พฤติกรรมในแต่ละด้านเป็นการกาหนดลักษณะ
เฉพาะของพฤติกรรมที่บ่งชี้และลักษณะคาถาม ทั้งนี้การกาหนด
พฤติกรรมและลักษณะคาถามเหล่านี้จะช่วยให้ผู้สร้างข้อสอบสามารถ
สร้างข้อสอบได้ตรงกับพฤติกรรมที่ต้องการวัดมากขึ้น ลักษณะ
สถานการณ์และคาถามของข้อสอบความสามารถในการคิด
มีตัวอย่างดังนี้
ลักษณะสถานการณ์และคาถามของข้อสอบความสามารถในการคิด
ความสามารถใน
การคิด
ลักษณะ
สถานการณ์
ลักษณะคาถาม
1.การแก้ปัญหา
1)การเลือก
และดาเนินการ
กับข้อมูล
แผนภาพ
รูปภาพ
ตารางข้อมูล
1. ให้พิจารณาข้อมูล และเลือกใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่ศึกษา
2. ให้แสดงขั้นตอนการหาค่าต่างๆโดยใช้ข้อมูลที่กาหนด
3.ให้พิจารณาข้อมูลแล้วระบุตัวแปรหรือตั้งสมมติฐาน
4. ให้เลือกข้อมูลที่กาหนด โดยใช้เงื่อนไขหนึ่งอย่าง หรือมากกว่าเพื่อใช้ในการ
หาคาตอบ
2) การค้นหา
วิธีการและ
ดาเนินการ
ข้อความที่
กาหนด เงื่อนไข
แผนภาพ
รูปภาพ
ตารางข้อมูล
1. ให้หาวิธีแก้ปัญหา หรือบอกวิธีหาคาตอบ
2. หาวิธีการแก้ปัญหาที่มีมากกว่าหนึ่งวิธี และเลือกใช้วิธีการแก้ปัญหาที่
เหมาะสมกับเงื่อนไขของคาถาม
3. ให้หาผลลัพธ์จากการใช้วิธีการ/เกณฑ์ที่เหมาะสม และนามาใช้ได้อย่าง
ถูกต้อง
3) การระบุ
ความสัมพันธ์
และตั้งสมมติฐาน
ข้อความที่
กาหนด เงื่อนไข
แผนภาพ
รูปภาพ
ตารางข้อมูล
1. ให้นาเสนอข้อมูลที่ได้จัดกะทาแล้วในรูปแบบอื่นที่แตกต่างจากสถานการณ์
2. ให้จับคู่รูปแบบของข้อสารสนเทศที่มีสาระเดียวกัน
3. อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงข้อมูลหรือตัวแปรที่กาหนดให้
4. ระบุผลของมิติสัมพันธ์ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภาพ การสะท้อนหรือการ
หมุน บอกมุมมองในทิศทางที่แตกต่าง
4) การ
วิเคราะห์และ
สร้างแบบจาลอง
ข้อความที่
กาหนด เงื่อนไข
แผนภาพ
รูปภาพ
ตารางข้อมูล
1. ให้พิจารณาว่า ข้อมูลที่กาหนดให้เพียงพอหรือต้องมีข้อมูลอื่นเพิ่มเติม
จึงจะสามารถหาคาตอบได้
2. ให้พยากรณ์ผลลัพธ์ที่อาจเป็นไปได้
3. ให้เลือกแบบจาลองที่ดีที่สุด หรือสร้างแบบจาลองขึ้นใหม่
4. ให้กาหนดทางเลือกและตัดสินใจเลือกประเด็นที่มีอยู่ในสถานการณ์
ความสามารถใน
การคิด
ลักษณะ
สถานการณ์
ลักษณะคาถาม
ลักษณะสถานการณ์และคาถามของข้อสอบความสามารถในการคิด
2. กาหนดน้าหนักความสาคัญในพฤติกรรมแต่ละด้าน
ที่เหมาะสมกับระดับชั้น
การกาหนดน้าหนักความสาคัญในพฤติกรรมแต่ละด้านพิจารณาได้จาก
พฤติกรรมที่คาดหวังว่าจะให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตร
ในแต่ละระดับชั้นของผู้เรียน ทั้งนี้การกาหนดน้าหนักความสาคัญ
สามารถทาได้โดยผู้สอนที่มีความเชี่ยวชาญหรือมีประสบการณ์ในแต่ละ
ระดับชั้น พิจารณาร่วมกันในแต่ละพฤติกรรม และกาหนด น้าหนัก
ความสาคัญในแต่ละด้าน
การเขียนข้อสอบวัดความสามารถในการคิด
ข้อสอบที่ใช้วัดความสามารถในการคิดจะต้องใช้สถานการณ์
เพื่อกระตุ้นให้ผู้สอบแสดงพฤติกรรมหรือสะท้อนความคิดออกมา
โดยลักษณะของสถานการณ์และคาถามของข้อสอบวัดความสามารถ
ในการคิด มีดังนี้
1) สถานการณ์
- เนื้อหาในสถานการณ์จะต้องไม่ยากหรือซับซ้อนเกินไป ใช้
ภาษาที่ เข้าใจได้ง่ายและเหมาะสมกับระดับของผู้เรียน สถานการณ์ที่
ใช้ในข้อสอบอาจเลือกใช้เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ หรือประเด็นที่สังคม
ให้ความสนใจ ซึ่งหาได้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น บทความจากใน
หนังสือหรือวารสาร หรือข่าวจากหนังสือพิมพ์
- สถานการณ์ที่นามาใช้อาจเป็นสถานการณ์จริง สถานการณ์จาลอง
หรือเป็นเรื่องราวที่สมมติขึ้นอย่างมีเหตุมีผล ช่วยกระตุ้นให้เกิดการคิด
และน่าสนใจ สถานการณ์เหล่านี้อาจประกอบด้วยข้อความ แผนภาพ
รูปภาพ หรือตารางข้อมูล
2) คาถาม
- คาถามที่ใช้ต้องเหมาะสมกับสถานการณ์และพฤติกรรมที่
ต้องการวัด ใช้ภาษาที่ถูกต้อง เข้าใจง่าย สื่อความหมายได้ชัดเจน
และเหมาะสมกับระดับของผู้เรียน
- คาถามที่ใช้สามารถวัดการคิดระดับสูงตามที่ต้องการได้
การทดลองใช้และการวิเคราะห์ข้อสอบ
วัตถุประสงค์ที่สาคัญของการทดลองใช้ข้อสอบเพื่อต้องการหา
ข้อมูลทางสถิติของข้อสอบที่ใช้ประกอบการปรับปรุงข้อสอบในแต่ละ
ข้อให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น โดยข้อมูลสาคัญที่ต้องการหลังจากการ
ทดลองใช้ข้อสอบ ได้แก่ ค่าความยากและค่าอานาจจาแนกของ
ข้อสอบ รวมทั้งการกระจายของตัวเลือกในกรณีที่เป็นข้อสอบแบบ
เลือกตอบ
การปรับปรุงข้อสอบ
ข้อสอบผ่านการทดลองใช้และการวิเคราะห์แล้วพบว่ายังมี
ข้อบกพร่องอยู่ จาเป็นต้องนาข้อสอบเหล่านั้นมาปรับปรุง โดยมีแนว
ทางการปรับปรุง เช่น ข้อสอบที่ยากเกินไปควรลดลาดับขั้นการคิด
ส่วนข้อสอบที่ง่ายเกินไปควรเพิ่มความซับซ้อนของสถานการณ์หรือ
คาถาม ลักษณะข้อสอบวัดความสามารถในการคิดในรูปแบบข้อสอบ
แบบเลือกตอบ
4. การแปลผลของการประเมินความสามารถในการคิด
การแปลผลของการวัดความสามารถในการคิด จะพิจารณาคะแนน
แต่ละองค์ประกอบก่อนแล้วจึงรวมเป็นคะแนนของความสามารถใน
การคิด ดังนั้นการรายงานผลจึงรายงานทั้งคะแนนในส่วนของการ
แก้ปัญหาและการคิดวิเคราะห์วิจารณ์ โดยทั่วไปการแปลผลจะไม่ใช้
การแปลผลแบบอิงเกณฑ์หรืออิงกลุ่ม แต่เป็นการรายงานผลความ
สามารถในหารคิดของผู้เรียนแก่ผู้สอน เพื่อใช้เป็นแนวทาง การ
พัฒนาและส่งเสริมผู้เรียนในด้านต่างๆ ของการคิดต่อไป ตลอดจน
สามารถใช้ผลคะแนนในการให้ข้อสนเทศแก่ผู้เรียนเพื่อผู้เรียนจะได้
เกิดความมั่นใจในการเลือกเรียนด้านที่เหมาะสมกับตนเอง
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิด
1. ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
เรื่อง การศึกษาผลการเรียนรู้และความสามารถในการแก้ปัญหา
ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
โดยจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT
ผู้วิจัย: กันติกาน สืบกินร
มหาวิทยาลัยศิลปากร
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
การสร้างแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทาง
วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารในชีวิตประจาวัน เป็นแบบทดสอบการ
เรียนและหลังเรียน จานวน 20 คะแนน แบ่งเป็น 2 ตอน ตอนที่1
เป็นแบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือก กาหนดเกณฑ์การให้ค่าคะแนน
คือ ถูกได้ 1 คะแนน ผิดได้ 0 คะแนน จานวน 4 ข้อ รวม 4
คะแนน ตอนที่ 2 เป็นแบบทดสอบอัตนัยจานวน 2 ข้อ ข้อละ 8
คะแนน รวม 16 คะแนน มีขั้นตอนสร้างดังนี้
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
1.ศึกษาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี
ที่6 และศึกษาทฤษฏี หลักการเขียนและการสร้างแบบทดสอบปรนัย
และอัตนัย
2. วิเคราะห์เนื้อหา และผลการเรียนรู้ที่คาดหวังโดยพิจารณา
ความสาคัญของจุดประสงค์ปลายทาง จุดประสงค์การเรียนรู้ให้
ครอบคลุมเนื้อหาหน่วยการเรียนรู้ เรื่องสารในชีวิตประจาวัน
3.สร้างแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์
แบบปรนัยและอัตนัย เรื่องสารในชีวิตประจาวัน จานวน 6 ข้อ รวม
20 คะแนน
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
4. เสนอแบบทดสอบวัความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์
เรื่องสารในชีวิตประจาวันให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจความถูกต้องทางภาษา
ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา
5. เสนอแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทาง
วิทยาศาสตร์ พร้อมตารางวิเคราะห์แบบทดสอบวัคความสามารถใน
การแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ เรื่องสารในชีวิตประจาวัน ให้
ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ตรวจสอบหาค่าดัชนีความสอดคล้องของ
แบบทดสอบ
6. นาไปทดลองใช้
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
7. นาผลการทดลองมาวิเคราะห์รายข้อ เพื่อหาคุณภาพดังนี้
- ตรวจสอบความยากง่ายของแบบทดสอบปรนัย โดยใช้
เกณฑ์ ความยากง่ายระหว่าง 0.20-0.80
- ตรวจสอบค่าอานาจจาแนกของแบบทดสอบปรนัย คือ
ตรวจสอบว่าข้อสอบสามารถจาแนกนักเรียนเก่งและนักเรียน
อ่อนได้ดีเพียงใด โดยใช้เกณฑ์อานาจจาแนกตั้งแต่ 0.20
ขึ้นไป
- หาค่าความเชื่อมันของปรนัย
- นาไปใช้เป็นเครื่องมือในการวิจัย
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
ประเด็น
ระดับคะแนน
2 1 0
1.ระบุปัญหา สามารถระบุปัญหาได้
ถูกต้อง ครบถ้วนชัดเจน
ระบุปัญหาได้ถูกต้อง แต่
ไม่ครบถ้วนชัดเจน
ระบุปัญหาไม่ถูกต้อง
2.สาเหตุของปัญหา สามารถระบุสาเหตุของ
ปัญหาได้ถูกต้อง ชัดเจน
ระบุสาเหตุของปัญหาได้
ถูกต้องแต่ยังไม่ชัดเจน
ระบุปัญหาไม่ถูกต้อง
3.วิธีการแก้ปัญหา สามารถเลือกใช้วิธีการ
แก้ปัญหาได้เหมาะสม
ชัดเจนเป็นไปได้
เลือกใช้วิธีการแก้ปัญหา
ได้เหมาะสมแต่มีความ
เป็นไปได้น้อย
เลือกใช้วิธีการ
แก้ปัญหาไม่เหมาะสม
4.ผลที่เกิดจากการ
แก้ปัญหา
สามารถระบุผลที่จะ
เกิดขึ้นได้ถูกต้อง เป็นไป
ได้สูง
ระบุผลที่จะเกิดขึ้นได้
ถูกต้อง แต่ยังเป็นไปได้
น้อย
ระบุผลที่จะเกิดขึ้นได้
ไม่ถูกต้อง
เกณฑ์การให้คะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์
(แบบอัตนัย)
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
จากคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ 20 คะแนน นามา
จัดเป็นเกณฑ์การตัดสินระดับความสามารถในการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์
มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
18.00 – 20.00 หมายถึง ความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์อยู่ใน
ระดับสูงมาก
14.00 – 17.99 หมายถึง ความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์อยู่ใน
ระดับสูง
10.00 – 13.99 หมายถึง ความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์อยู่ใน
ระดับปานกลาง
< 10 หมายถึง ความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับต่า
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
วิเคราะห์ข้อมูล
โดยการเปรียบเทียบความสามรถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์
ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ เรื่องสารในชีวิตประจาวัน ที่จัดการ
เรียนรู้แบบ 4 MAT โดยหาค่า ที (t-test) แบบ dependent
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิด
2. ความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์
เรื่อง ความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนช่วงชั้นที่3
ที่เรียนวิทยาศาสตร์ด้วยวิธีการสืบเสาะหาความรู้โดยเสริมกิจกรรม
การคิดเชิงวิเคราะห์
ผู้วิจัย: บัวลอย อุ่นนันกาศ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์
ผู้วิจัยสร้างแบบวัดความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์
โดยดาเนินการตามขั้นตอนดังนี้
1. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการคิดวิเคราะห์เพื่อนามาเป็น
กรอบหรือโครงสร้างของการสอนการคิดเชิงวิเคราะห์
2. กาหนดจุดมุ่งหมายของแบบวัด กรอบของการวัดและนิยาม
เชิงปฏิบัติการ
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์
3. สร้างแบบวัดความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ โดยเป็น
แบบวัดแบบเลือกตอบชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 26 ข้อ ใน 1 ข้อ มี 2
คาถามคือคาถามเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลที่กาหนดให้และคาถาม
เกี่ยวกับเหตุผลที่ใช้ประกอบ ซึ่งวัดความสามารถในการคิดเชิง
วิเคราะห์ 3 ด้าน คือ ด้านการจาแนก การรวบรวมเป็นหมวดหมู่และ
การจัดประเด็นต่างๆ เพื่อวัดความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์เป็น
รายบุคคลทั้งก่อนและหลังที่ได้รับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ โดย
เสริมกิจกรรมการคิดเชิงวิเคราะห์และมีเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์
3.1 ความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ถูกต้อง หมายความว่า
นักเรียนตอบถูกทั้งส่วนคาถามและเหตุผลให้ 2 คะแนน
3.2 ความสารถในการคิดเชิงวิเคราะห์คลาดเคลื่อน หมายความว่า
นักเรียนตอบถูกแต่ให้เหตุผลไม่ถูกต้อง หรือคาตอบไม่ถูกต้องแต่การ
ให้เหตุผลถูกต้อง ให้ 1 คะแนน
3.3 ความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ไม่ถูกต้อง หมายความว่า
นักเรียนตอบไม่ถูกทั้งส่วนของคาตอบและเหตุผลให้ 0 คะแนน
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์
4. นาแบบวัดความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ที่สร้างขึ้น เสนอต่อ
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์เพื่อพิจารณา ความครอบคลุมของเนื้อหา
ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา เพื่อให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงและแก้ไข
ข้อบกพร่องต่างๆ เกี่ยวกับลักษณะของคาถาม ภาษาที่ใช้และความยาก
ง่ายของข้อคาถาม รวมทั้งความเหมาะสมของจานวนข้อและเวลาที่ใช้
ของแบบวัด
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์
5. นาแบบวัดที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วไปให้ผู้เชี่ยวชาญจานวน 15 ท่าน พิจารณา
ความครอบคลุมของเนื้อหา ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา เพื่อให้ข้อเสนอแนะใน
การปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ เกี่ยวกับลักษณะของคาถาม ภาษาที่ใช้
และความยากง่ายของคาถามและดาเนินการแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ โดยถือ
ความคิดเห็นที่สอดคล้องกันร้อยละ 80 ขึ้นไปของผู้เชี่ยวชาญเป็นเกณฑ์
6. นาแบบวัดที่ปรับปรุงและแก้ไขตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ เสนอต่อ
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ตรวจสอบอีกครั้งก่อนนาไปลองใช้
7. นาแบบวัดที่ปรับปรุง แก้ไขแล้ว ไปลองใช้กับนักเรียน
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์
8. นาผลการสอบที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าความยากง่ายและค่าอานาจจาแนก
เป็นรายข้อ โดยการแยกคาถามกับเหตุผลและการใช้เทคนิคของ Chung-
The Fan จากนั้นคัดเลือกข้อสอบไว้จานวน 20 ข้อ โดยถือเกณฑ์ว่าข้อสอบ
แต่ละข้อมีค่าความยากง่าย(p)ระหว่าง .20-.80 และค่าอานาจจาแนก(r)
ตั้งแต่ .20 ขึ้นไป
9. วิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบวัด โดยใช้สูตร
สัมประสิทธิ์อัลฟาของ Cronbach
(CronbachAlpha ‘ s Coefficient)
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์
การดาเนินการทดลอง
ทาการทดสอบกลุ่มตัวอย่างก่อนเรียน (pre-test) – กลุ่มอย่างกลังเรียน (post- test)
นาคะแนนที่ได้จากการทดสองทั้ง 2 ครั้งดังกล่าวไปวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางสถิติเพื่อศึกษา
พัฒนาการของความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์
ของนักเรียนโดยการใช้สถิติ คือ ค่าเฉลี่ย (Mean)
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการทดสอบค่าทีแบบสองกลุ่มที่มี
ความสัมพันธ์กัน (Paired t-test) ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ SPSS for Windows เพื่อ
เปรียบเทียบความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ก่อน
และหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีสอนแบบสืบเสาะหาหาความรู้โดยเสริมกิจกรรมการ
คิดเชิงวิเคราะห์
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์
การวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้วิจัยนาคะแนนการวัดความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์และการวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนวิทยาศาสตร์เรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง มาวิเคราะห์ดังรายละเอียด
ต่อไปนี้
การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการศึกษาความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ และ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์เรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง ก่อนและหลังการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้โดยเสริมกิจกรรมการคิดเชิง
วิเคราะห์ ของนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยการทดสอบหาค่าทีแบบสองกลุ่มสัมพันธ์กัน
(Paired t-test) คานวณโดยการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ SPSS for Windows
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการคิดสร้างสรรค์
เรื่อง
ผู้วิจัย:
มหาวิทยาลัย
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิดสร้างสรรค์
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิดสร้างสรรค์
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิดสร้างสรรค์
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิดสร้างสรรค์
งานวิจัยที่ศึกษาความสามารถในการคิดสร้างสรรค์
สมาชิก
• นางสาวนารี ศรีบุณทัน รหัสนักศึกษา55131113010
• นางสาวจันทร์จิรา เทียนทอง รหัสนักศึกษา55131113016
• นายชัยวัฒน์ แสงทอง รหัสนักศึกษา 55131113024
• นายวุฒิพงษ์ ทับกระโทก รหัสนักศึกษา 55131113035
คณะครุศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป ห้อง 1
เสนอ
อาจารย์ ดร.อารยา ลี

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับบุญรักษา ของฉัน
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตWichai Likitponrak
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว Terapong Piriyapan
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
ใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว
ใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัวใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว
ใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัวtassanee chaicharoen
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑bensee
 
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆการประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆleemeanshun minzstar
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคลวิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคลมะ สิ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพSupaluk Juntap
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมkrusuparat01
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 

La actualidad más candente (20)

หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
ใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว
ใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัวใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว
ใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆการประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคลวิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 

Similar a การวัดความสามารถในการคิด

บทความ
บทความบทความ
บทความaorchalisa
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการSupattra Rakchat
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์bussaba_pupa
 
ทักษะการคิด
ทักษะการคิดทักษะการคิด
ทักษะการคิดNapakan Srionlar
 
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Editโครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล EditSiratcha Wongkom
 

Similar a การวัดความสามารถในการคิด (17)

บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
 
Power point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัยPower point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัย
 
Flow chart
Flow chartFlow chart
Flow chart
 
ทักษะการคิด
ทักษะการคิดทักษะการคิด
ทักษะการคิด
 
7
77
7
 
Capturing Tacit
Capturing TacitCapturing Tacit
Capturing Tacit
 
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Editโครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
 

Más de Wuttipong Tubkrathok

สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมคุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมWuttipong Tubkrathok
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตWuttipong Tubkrathok
 
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูงเหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูงWuttipong Tubkrathok
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติWuttipong Tubkrathok
 
คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์Wuttipong Tubkrathok
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานWuttipong Tubkrathok
 
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ Wuttipong Tubkrathok
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
ลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ Pisaลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ PisaWuttipong Tubkrathok
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินWuttipong Tubkrathok
 
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์Wuttipong Tubkrathok
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนWuttipong Tubkrathok
 
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลWuttipong Tubkrathok
 

Más de Wuttipong Tubkrathok (20)

สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมคุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูงเหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
 
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
ลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ Pisaลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ Pisa
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
 
The doppler effect
The doppler effect The doppler effect
The doppler effect
 
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
 

การวัดความสามารถในการคิด