SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 46
Descargar para leer sin conexión
ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับ
ระบบปฏิบัติการ
(Introduction to Operating System)
1
โดย
ครูเพชรพะเยาว แยมยินดี
ระบบปฏิบัติการ
• ระบบปฏิบัติการเปนโปรแกรมที่ทําหนาที่เปนผูประสาน
ระหวางผูใชคอมพิวเตอร และเครื่องคอมพิวเตอร
• จุดประสงคของระบบปฏิบัติการ
–คือการจัดเตรียมสิ่งที่จําเปนในการประมวลผลแกผูใช
เพื่อใหความสะดวกสบาย แกผูใชและมีการใชทรัพยากร
ตางๆ อยางมีประสิทธิภาพ
2
อะไรคือระบบปฏิบัติการที่แทจริง
–ระบบปฏิบัติการหรือ OS เปนไดทั้ง
•ซอฟตแวร
•ฮารดแวร
•เฟรมแวร(Firmware)
•หรือผสมผสานกันก็ได
–เปาหมายการทํางานของ OS
•คือสามารถใหผูใชคอมพิวเตอรใชงานคอมพิวเตอรไดโดย
ผูใชไมจําเปนตองทราบกลไกการทํางานของฮารดแวร
3
• ซอฟแวร OS
–คือ OS ที่เปนโปรแกรมควบคุมการทํางานของเครื่อง
คอมพิวเตอร
4
อะไรคือระบบปฏิบัติการที่แทจริง
• ฮารดแวร OS
–คือ OS ที่ถูกสรางขึ้นจากอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกสเปน
สวนหนึ่งของฮารดแวรของเครื่องดวย มีหนาที่
เชนเดียวกัน
•ขอดี ในการสรางฮารดแวร OS ก็เพราะมันสามารถทํางาน
ไดรวดเร็วกวาซอฟตแวร OS
•ขอเสีย การปรับปรุงแกไข OS นั้นยุงยากอาจําทําไมได
นอกจากนี้ยังมีราคาแพงอีกดวย การเปลี่ยนแปลงครั้งหนึ่ง
นั่นหมายถึง การสรางเครื่องคอมพิวเตอรใหมก็วาได
5
อะไรคือระบบปฏิบัติการที่แทจริง
• เฟรมแวร OS
– คือ OS ที่เขียนขึ้นโดยใชคําสั่งไมโคร ทําใหมีความเร็วสูงกวาซอฟตแวร OS
แตยังชากวา ฮารดแวร OS การแกไขเฟรมแวร OS คอนขางยากและ
คาใชจายมาก แตยังถูกวาการเปลี่ยนแปลงฮารดแวร OS
– เฟรมแวร หมายถึง สวนโปรแกรมที่เก็บไวเปนสวนหนึ่งของเครื่อง
คอมพิวเตอร โปรแกรมเหลานี้เรียกวา ไมโครโปรแกรม(Microprogram) แต
ละโปรแกรมประกอบขึ้นจากคําสั่งหลายๆ คําสั่ง คําสั่งเหลานี้เรียกวา คําสั่ง
ไมโคร(Microinstruction) คําสั่งไมโครเปนชุดคําสั่งในระดับที่ต่ําที่สุดของ
ระบบของคอมพิวเตอรควบคุมการทํางานของซีพียูในทุกๆขั้นตอน
6
อะไรคือระบบปฏิบัติการที่แทจริง
• ดังนั้น OS ทั่วไปจะถูกสรางขึ้นเปนซอฟตแวร เนื่องจาก
ปรับปรุงแกไขขอบกพรองที่มีไดงาย
• แตในบางสวนของ OS ที่ถูกใชงานบอยมากๆ ก็จะถูก
สรางโปรแกรมไวดวยไมโครโปรแกรมเพื่อทํางานไดเร็วขึ้น
7
อะไรคือระบบปฏิบัติการที่แทจริง
นิยามของระบบปฏิบัติการ
1.1 Resource allocator บริหารการจัดสรรทรัพยากร เชน การ
จัดการฮารดดิสก (Hard disk) หนวยความจํา (Memory)
เครื่องพิมพ (printer) ใหเกิดประโยชนไดอยางเต็มที่
1.2 Control program ควบคุมการเอ็กซีคิวส (Execute) โปรแกรม
ของผูใช และการทํางานของอุปกรณรับ-สงขอมูล
1.3 Kernel (แกนแท) โปรแกรมที่ทํางานอยูตลอดเวลาบน
คอมพิวเตอร(ในระดับฮารดแวรของเครื่อง)
8
นิยามของระบบปฏิบัติการ
• จากคํานิยามดังกลาว พอสรุปไดวา
• ระบบปฏิบัติการ คือ โปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่เปน
ตัวเชื่อมหรือประสานงาน ระหวางผูใชงานกับฮารดแวร
ของเครื่อง ใหสามารถทํางานโดยสะดวก โดยที่ผูใชไม
จําเปนตองรูกลไกการทํางานของเครื่องก็สามารถที่จะใช
งานคอมพิวเตอรได
9
สวนประกอบของระบบคอมพิวเตอร
–ระบบปฏิบัติการคือสวนประกอบที่สําคัญของระบบ
คอมพิวเตอร
–ถาเราแบงสวนประกอบของระบบคอมพิวเตอร
•สวนของเครื่อง
•ระบบปฏิบัติการ
•โปรแกรมประยุกตและผูใช
10
สวนประกอบของระบบคอมพิวเตอร
11
สวนประกอบของระบบคอมพิวเตอร
• สวนของเครื่อง ประกอบดวย CPU, หนวยความจํา และ อุปกรณรับและแสดงผล ซึ่ง
สิ่งเหลานี้ถือวาเปน ทรัพยากรคอมพิวเตอร
• โปรแกรมประยุกต (ตัวแปลภาษา ระบบฐานขอมูล,โปรแกรมทางธุรกิจ เปนตน) เปน
ตัวกําหนดการใชทรัพยากรคอมพิวเตอรในการแกปญหาของผูใช ซึ่งอาจจะมีผูใช
หลายคนใชคอมพิวเตอรทํางานหลาย ๆ อยางในเวลาเดียวกัน
• ระบบปฏิบัติการจะตองควบคุม และประสานงานระหวางโปรแกรมประยุกต ของผูใช
เหลานี้รวมทั้งจัดสรรทรัพยากรใหอยางเหมาะสม
• ดังนั้นเราจะกลาวไดวา ระบบปฏิบัติการคือโปรแกรมโปรแกรมหนึ่งซึ่งทํางานอยู
ตลอดเวลา เพื่ออํานวยความสะดวกแกผูใชและจัดสรรทรัพยากรใหแกผูใชได
เหมาะสม
12
หนาที่ของระบบปฏิบัติการ
13
1. ติดตอกับผูใช (User interface)
ผูใชสามารถติดตอหรือควบคุมการทํางานของเครื่อง
ผานทางระบบปฏิบัติการได ซึ่งผูใชจะพิมพคําสั่งหรือ เลือก
สัญลักษณตามที่ตองการ เพื่อใหระบบปฏิบัติการจัดการกับ
เครื่องคอมพิวเตอรตามตองการเชน การสั่ง copy แฟมขอมูล
นอกจากนี้ผูใชยังสามารถติดตอกับ ระบบปฏิบัติการ
ไดโดยผานทาง system call ซึ่งเปนการเรียกใชโปรแกรมยอย
ตาง ๆของระบบปฏิบัติการ
หนาที่ของระบบปฏิบัติการ
2. ควบคุมดูแลอุปกรณและการทํางานของเครื่อง
คอมพิวเตอร
เนื่องจากโปรแกรมของผูใชจะตองเกี่ยวของกับอุปกรณ
คอมพิวเตอรหลายสวน ซึ่งผูใชอาจไมจําเปนตอง มีความเขาใจถึง
หลักการทํางานของเครื่อง
ดังนี้ระบบปฏิบัติการจึงตองมีหนาที่ควบคุมดูแลการทํางานของ
อุปกรณตาง ๆ เพื่อใหการทํางานของระบบเปนไปไดอยางถูกตอง และ
สอดคลองกัน
14
หนาที่ของระบบปฏิบัติการ
3. จัดสรรทรัพยากรตาง ๆ ในระบบ
ทรัพยากร คือสิ่งที่ถูกใชไปเพื่อใหโปรแกรมสามารถดําเนินไปได เชน
CPU หนวยความจํา ดิสก เปนตน สาเหตุที่ตองมีการจัดสรรทรัพยากรคือ
- ทรัพยากรของระบบมีจํากัด เราตองจัดสรรใหโปรแกรมของผูใช
ทุกคนไดใชทรัพยากร อยางเหมาะสม
- มีทรัพยากรอยูหลายประเภท บางโปรแกรมอาจตองการใช
ทรัพยากรหลายอยางพรอมกัน ระบบปฏิบัติการจึงตองมีการเตรียม
ทรัพยากรตาง ๆ ตามความตองการของแตละโปรแกรม
- ทรัพยากรหลักที่ระบบปฏิบัติการจัดสรรไดแก
โปรเซสเซอร หนวยความจํา อุปกรณอินพุต-เอาทพุต ขอมูล
15
วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ
รุนที่ 0 (The Zeroth genaration) ยังไมมีระบบปฏิบัติการ (ค.ศ. 1940)
ระบบคอมพิวเตอรในยุคแรก ๆ เชน ENIAC นั้นยังไมมีระบบปฏิบัติการ
การสั่งงานจะทําดวยมือทุก ขั้นตอน เริ่มแรกโปรแกรมเมอรจะโหลด
โปรแกรมจาก tape กระดาษ หรือบัตรเจาะรูเขาสูหนวยความจําของ
เครื่อง โดยการกดปุมจาก console จากนั้นก็สั่งใหเริ่มทํางานโดยกดปุม
เชนกัน ในขณะที่โปรแกรมกําลังทํางานโปรแกรมเมอรหรือโอเปอรเรเตอร
จะตองคอยดูอยูตลอดเวลา หากเกิด error ขึ้น จะตองหยุดการทํางาน
และจําคาของรีจิสเตอร และแกไขโปรแกรมโดยตรงจาก console output
จะถูกบันทึกลงใน tape กระดาษหรือบัตรเจาะรู
16
วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ
รุนที่ 1 (the first generation) ระบบประมวลผลแบบกลุม (ค.ศ.
1950)
กอนที่จะเริ่มมีการพัฒนาระบบปฏิบัติการขึ้นมา การใชงานเครื่อง
คอมพิวเตอรนั้น ตองสูญเสียเวลามากในชวงที่งาน (Job)หนึ่งเสร็จสิ้นลง
และเริ่มตนรันงานตอไป
ถาเรามีงานหลายๆ งานรอที่จะใหคอมพิวเตอรรัน เราก็จะตอง
เสียเวลาเปนอันมาก และนอกจากนี้เราตองทํางานเชนนี้ซ้ําอยูหลายครั้ง
17
วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ
รุนที่ 1 (the first generation) ระบบประมวลผลแบบกลุม (ค.ศ.
1950)
ดวยเหตุนี้ระบบปฏิบัติการจึงถูกสรางขึ้นมาเพื่อทํางานชิ้นนี้แทนมนุษยซึ่ง
เรียกวาเปน ระบบประมวลผลแบบกลุม (batch processing systems) นั่นคือ
มีการรวบรวมงานของผูใชเขาเปนกลุม หรือเรียกวา แบตซ (batch) แลว
สงไปประมวลผลพรอมกัน เมื่อโปรแกรมหนึ่ง ทํางานเสร็จ ระบบปฏิบัติการก็จะ
ทํางานตอไปเขามาประมวลผลตอ
แตก็จะมีปญหางานที่ประมวลผล ในลําดับตน ๆ เปนงานที่ใชเวลานาน
งานที่อยูทาย ๆ ตองรอเปนเวลานาน
18
วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ
รุนที่ 2 (the second generaiton) ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง
(ค.ศ. 1960)
ในยุคนี้ OS สามารถที่จะทํางานในลักษณะมัลติโปรแกรมมิ่ง
(Multiprogramming) และเปนจุดเริ่มตนของระบบมัลติโปรเซสซิ่ง
(Multiprocessing)
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง มีการเก็บโปรแกรมหลาย ๆ โปรแกรมเขาไวใน
หนวยความจําพรอมกัน มีการใชทรัพยากรรวมกัน เชนใหโปรแกรมผลัดเปลี่ยนกัน
เขาใช CPU ที่ละโปรแกรมในชวงเวลาสั้น ๆ จึงทําใหหลาย ๆ โปรแกรมได
ประมวลผลในเวลาที่ใกลเคียงกัน
แตก็ยังมีปญหาผูใชไมสามารถนําโปรแกรมประยุกตจากเครื่องที่ตางกันมา
ใชรวมกันได เนื่องจากระบบปฏิบัติการของแตละเครื่องมีความแตกตางกัน ผูใช
จะตองเสียเวลาในการเขียนโปรแกรมใหมเมื่อเปลี่ยนเครื่อง 19
วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ
• ระบบ real-time ก็เกิดขึ้นในชวงนี้เชนกัน
–ระบบ real-time
• คือระบบที่สามารถใหการตอบสนองจากระบบอยางทันทีทันใดเมื่อรับ
อินพุตเขาไปแลว
• ในทางอุดมคติ real-time คือระบบที่ไมเสียเวลาในการประมวลผลหรือ
เวลาในการประมวลผลเปนศูนย แตในทางปฏิบัติเราไมสามารถผลิต
เครื่องคอมพิวเตอรในลักษณะนี้ได ทําไดแคลดเวลาการประมวลผลของ
เครื่องใหนอยที่สุดเทาที่จะทําได
• สวนมากจะนําไปใชในการควบคุมกระบวนการตางๆ ในงานอุตสาหกรรม
20
วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ
• รุนที่ 3 (the third generation) ระบบปฏิบัติการ
เอนกประสงค (กลาง ค.ศ. 1960 ถึงกลาง ค.ศ. 1970)
–OS ในยุคนี้ถูกออกแบบมาใหสามารถใชไดกับคอมพิวเตอรหลาย ๆ
แบบในรุนเดียวกัน และใชไดกับงาน หลาย ๆ ประเภท ไมไดเจาะจง
ลงไปที่ลักษณะงานใดงานหนึ่ง ทั้งนี้เปนเพราะเหตุผลทางการคา
ผูเขียนโปรแกรม OS ตองการยอดขายใหไดมาก จึงเขียน OS ใหใคร
ก็ไดสามารถใช OS ของเขาได และใชกับงานหลายประเภทได
สงผลให OS มีขนาดใหญ ทํางานชาลงและแพงขึ้น
21
วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ
• รุนที่ 4 (the forth generation) ระบบเครือขายคอมพิวเตอร
(กลาง ค.ศ. 1970 ถึงปจจุบัน)
–เทคนิคการเขียนโปรกรม OS ในรุนที่ 3 เริ่มถึงจุดอิ่มตัว ในยุคนี้ OS
จึงถูกพัฒนาใหมีความสามารถในงานพิเศษอื่นๆ เพิ่มขึ้น ระบบ
เครือขายคอมพิวเตอร (computer network) ระบบนี้ผูใชสามารถใช
งานคอมพิวเตอรติดตอกับเครื่องคอมพิวเตอร ของผูอื่นโดยผานทาง
เทอรมินอลชนิดตาง ๆ ซึ่งตองเชื่อมโยงกันเปนเครือขายและกระจาย
ไปตามจุดตาง ๆ เชนภายในอาคารสํานักงานภายในจังหวัด และทั่ว
โลก ซึ่งทําใหสามารถใชสารสนเทศรวมกันไดโดยไมตองคํานึงถึง
ระยะทาง และชนิดของคอมพิวเตอร
22
วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ
• แนวคิดเรื่องเครื่องคอมพิวเตอรเสมือน (virtual machine) เริ่มนํามาใชงานอยาง
กวางขวาง
• เครื่องคอมพิวเตอรเสมือน หมายถึง การแปลงเครื่องคอมพิวเตอรที่เรามีอยูให
กลายเปนเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องอื่น โดยที่ผูใชไมจําเปนตองยุงยากเกี่ยวกับ
รายละเอียดทางดานฮารดแวรของระบบคอมพิวเตอรอีกตอไป
• ผูใชสามารถสรางเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนไดโดยการใช OS
• ระบบเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนจะมี OS อีกตัวหนึ่งติดตอกับผูใช และทํางานอยูบน
OS ของเครื่อง ซึ่ง OS ตัวที่ 2 นี้จะเปน OS ที่ถูกสรางขึ้นใหเหมือนกับ OS ของ
เครื่องอื่นที่เราตองการใหระบบคอมพิวเตอรของเราเปน
• ดังนั้นคอมพิวเตอรและ OS ตัวแรกจะเปรียบเสมือนเปนเครื่องคอมพิวเตอรเครื่อง
ใหมในสายตาของผูใช
23
วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ
24
การทํางานระบบเครื่องคอมพิวเตอรเสมือน(virtual machine)
สรุประบบตาง ๆ ภายในคอมพิวเตอร
ตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน
25
1. ระบบที่ไมมีระบบปฏิบัติการ
(Non operating system)
–ยุคแรก ๆ คอมพิวเตอรมีแตเครื่องเปลา ๆ ผูใชตองเขียน
โปรแกรมสั่งงาน ตรวจสอบการทํางาน ปอนขอมูล และ
ควบคุมเอง ทําใหระยะแรกใชกันอยูในวงจํากัด
26
2. ระบบงานแบ็ตซ (Batch system)
–ในอดีต คอมพิวเตอรจะทํางานไดครั้งละ 1 งาน การสั่งงาน
คอมพิวเตอรใหมีมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทําไดโดยการรวมงาน
ที่คลายกัน เปนกลุม แลวสงใหเครื่อง ประมวลผล โดยผูทํา
หนาที่รวมงาน จะรับงานจากนักพัฒนาโปรแกรม มาจัดเรียง
ตามความสําคัญ และตามลักษณะของโปรแกรม จัดเปน
กลุมงาน แลวสงให คอมพิวเตอรประมวลผล
27
3. ระบบบัฟเฟอร (Buffering system)
–การทํางานเพื่อขยายขีดความสามารถของระบบ ทําใหหนวย
รับ-แสดงผลสามารถทํางานไปพรอม ๆ กับการประมวลผล
ของซีพียู ในขณะที่ประมวลผลคําสั่งที่ ถูกโหลดเขาซีพียูนั้น
จะมีการโหลดขอมูลเขาไปเก็บในหนวยความจํากอน เมื่อถึง
เวลาประมวลผลจะสามารถทํางานไดทันที และโหลดขอมูล
ตอไปเขามาแทนที่ หนวยความจําที่ทําหนาที่เก็บขอมูลที่
เตรียมพรอมนี้เรียกวา บัฟเฟอร (buffer)
28
4. ระบบสพูลลิ่ง (Spooling)
• Simultaneous Peripheral Operating On-Line เปน
multiprogramming พื้นฐาน ทําใหซีพียูทํางานเต็มประสิทธิภาพ เพราะ
ทําใหสามารถทํางานได 2 งานพรอมกัน งานแรกคือประมวลผลในสวน
ของซีพียู งานที่สองคือการรับ-แสดงผลขอมูล ซึ่งตางกับ buffer ที่ซีพียู
และหนวยรับ-แสดงผลทํางานรวมกัน และ spooling มี job pool ทําให
สามารถเลือกการประมวลผลตามลําดับกอนหลังได โดยคํานึงถึง
priority เปนสําคัญ
29
5. ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming)
• การทํางานที่โหลดโปรแกรมไปไวในหนวยความจําหลัก และ
พรอมที่จะประมวลผลไดทันที ระบบปฏิบัติการจะเลือกงานเขา
ไปประมวลผลจนกวาจะหยุดคอยงานบางอยาง ในชวงที่หยุด
รอจะดึงงานเขาไปประมวลผลตอทันที ทําใหมีการใชซีพียูได
อยางมีประสิทธิภาพ
30
ระบบปฏิบัติการ
งานที่ 1
งานที่ 2
งานที่ 3
...
6. ระบบแบงเวลา (Time-sharing หรือ Multitasking)
• เปนการขยายระบบ multiprogramming ทําใหสามารถ
สับเปลี่ยนงานของคนหลาย ๆ คนเขาสูซีพียู ซึ่งการสับเปลี่ยนที่
ทําดวยความเร็วสูงจะทําใหผูใชรูสึกเหมือน ครอบครองซีพียูอยู
เพียงผูเดียว
31
7. ระบบเรียลไทม (Real-time system)
• จุดประสงคอีกอยางหนึ่งของ ระบบปฏิบัติการ คือ ระบบเวลาจริง(Real-
time system) หมายถึงการตอบสนองทันที เชนระบบ Sensor ที่สง
ขอมูลใหคอมพิวเตอร เครื่องมือทดลองทางวิทยาศาสตร ระบบภาพทาง
การแพทย ระบบควบคุมในโรงงานอุตสาหกรรม ระบบหัวฉีดในรถยนต
ระบบควบคุมการยิง ระบบแขนกล และ เครื่องใชในครัวเรือนทั้งหมด
• Real-time แบงได 2 ระบบ
– 1. Hard real-time system เปนระบบที่ถูกรับรองวาจะไดรับการตอบสนอง
ตรงเวลา และหยุดรอไมได
– 2. Soft real-time system เปนระบบ less restrictive type ที่สามารถรอให
งานอื่นทําใหเสร็จกอนได
32
8. ระบบคอมพิวเตอรสวนบุคคล
(Personal Computer System)
• ปจจุบันคอมพิวเตอรราคาถูกลง มีการพัฒนาอุปกรณตาง ๆ อยาง
ตอเนื่อง ทั้งแปนพิมพ เมาส จอภาพ หนวยความจํา หนวยประมวลผล
เปนตน และการใชคอมพิวเตอร ไมไดมุงเนนดานธุรกิจเพียงอยางเดียว
แตนําไปใชเพื่อความบันเทิงในบานมากขึ้น และกลายเปนสิ่งจําเปน
สําหรับทุกองคกร นอกจากคอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ(Desktop) ยังมี
คอมพิวเตอรแบบสมุดโนต(Notebook) และคอมพิวเตอรมือถือ (PDA)
ปจจุบันมีโทรศัพทมือถือที่ทํางานแบบคอมพิวเตอร และใชดูหนังฟง
เพลง หรือประมวลผล ตาง ๆ ที่ซับซอนมากขึ้น ใกลเคียงกับ
คอมพิวเตอรแบบตั้งโตะยิ่งขึ้น
33
9. ระบบเวอรชวลแมชีน (Virtual machine)
• เครื่องเสมือน ทําใหผูใชคอมพิวเตอรรูสึกเหมือนใชคอมพิวเตอร
เพียงคนเดียว แตในความเปนจริงจะบริการใหผูใชหลายคน ใน
หลายโปรเซส โดยใชเทคโนโลยี Virtual machine บริการงาน
ตาง ๆ ใหกับผูใชไดหลาย ๆ งานพรอมกัน
34
10. ระบบมัลติโปรเซสเซอร (Multiprocessor system)
• Symmetric-multiprocessing การประมวลผลแบบสมมาตร
หมายถึงการประมวลผลหลายโปรเซสเซอรที่ไมมีโปรเซสเซอร
ตัวใดรับโหลดมากกวาตัวอื่น
• Asymmetric-multiprocessing การประมวลผลแบบไมสมมาตร
หมายถึงการมีโปรเซสเซอรตัวหนึ่งเปนตัวควบคุม และแบงงาน
แตละแบบใหโปรเซสเซอรแตละตัวตามความเหมาะสม
35
11. ระบบแบบกระจาย (Distributed system)
• ระบบเครือขาย ที่กระจายหนาที่ กระจายการเปนศูนยบริการ
และเชื่อมตอเขาดวยกัน ดวยจุดประสงคตาง ๆ กัน ในมาตรฐาน
TCP/IP ซึ่งเปนที่ยอมรับทั้ง Windows, Linux, Unix และ Mac
ทําใหทั้งหมดสามารถสื่อสารกันรูเรื่องเขาใจ และกอใหเกิด
ประโยชนรวมกัน
36
ชนิดของระบบปฏิบัติการ
1. Single-Tasking
เปนระบบปฏิบัติการที่ยอมใหมีผูใชเพียงคนเดียว และทํางานไดเพียงอยาง
เดียวในชวงเวลาใด เวลาหนึ่ง เชนในขณะที่ทําการแปลโปรแกรม ก็ไมสามารถ
เรียกใช Editor ได การจัดการทรัพยากรตาง ๆ ของระบบปฏิบัติการจะไมซับซอนนัก
ไมวาจะเปนการจัดการอุปกรณรับ และแสดงผล การจัดการหนวยความจํา การ
จัดการดิสก ตัวอยางเชน
- อานและแปลคาจากการกดแปนพิมพ
- สงขอมูลไปบันทึกในดิสก หรือพิมพออกทางเครื่องพิมพ
- จัดการที่วางบนดิสก
- แยกเก็บโปรแกรม คอมพิวเตอร editor และโปรแกรมระบบปฏิบัตการใน
หนวยความจํา ตัวอยางของระบบปฏิบัติการแบบนี้ไดแก MS DOS
37
ชนิดของระบบปฏิบัติการ
38
Single-Tasking
ชนิดของระบบปฏิบัติการ
2. Multitasking (Single-User)
เปนระบบปฏิบัติการที่ยอมใหมีผูใชเพียงคนเดียวในชวงเวลาหนึ่ง แต
สามารถทํางานไดหลายอยาง ในเวลาเดียวกัน เชนสามารถที่จะใช editor ไป
พรอม ๆ กับพิมพงานอื่นทางเครื่องพิมพไดระบบปฏิบัติการจะสลับการใชงาน
ระหวาง CPU และทรัพยากรอื่น ๆ อยางรวดเร็วจนผูใชไมรูสึกวาถูกขัดจังหวะการ
ทํางาน เนื่องจากมีการทํางานหลายอยางในเวลาเดียวกัน การทํางานของ
ระบบปฏิบัติการจะซับซอนขึ้น เชนการจัดการหนวยความจํา จะตองมีโปรแกรม
หลายโปรแกรมเก็บอยูในหนวยความจําในเวลาเดียวกัน ระบบปฏิบัติการจะตอง
ไมใหโปรแกรมเหลานั้นกาวกายกัน ซึ่งอาจจะตองมีการจัดลําดับ หรือเลือกงาน
เพื่อเขาใชทรัพยากรตางๆ และใชเปนเวลานานเทาใด ตัวอยางระบบปฏิบัติการ
แบบนี้ไดแก Windows 95, UNIX, OS/2, VMS
39
ชนิดของระบบปฏิบัติการ
40
ระบบ multitasking
ชนิดของระบบปฏิบัติการ
3. Multi-user systems
บางครั้งเรียกระบบ multiprogramming เปนระบบที่มีความซับซอนกวาระบบ
Single user หลักการของระบบนี้ก็คือ
- การใหมีโปรแกรมอยูในหนวยความจําพรอมที่จะถูกประมวลผลไดหลาย ๆ
โปรแกรม ระบบปฏิบัติการจะเลือกโปรแกรมมา 1 โปรแกรมให CPU ทําการ
ประมวลผล ไปเรื่อย ๆ เมื่อโปรแกรมนั้นตองติดตอกับอุปกรณรับและแสดงผล
ระบบปฏิบัติการก็จะเลือกโปรแกรมอื่นเขามาใช CPU แทน ระบบปฏิบัติการเลือก
โปรแกรมใหแก CPU เรื่อย ๆ จนกวาแตละโปรแกรมจะเสร็จสิ้นไปการที่จะทํางาน
หลาย ๆ โปรแกรมพรอม ๆ กัน ระบบปฏิบัติการตองคอยควบคุม และจัดสรร
ทรัพยากรตาง ๆ ที่มีอยูอยางจํากัดใหแตโปรแกรม เชนจัดสรรเนื้อที่ในหนวยความจํา
หลัก สับหลีกโปรแกรมที่จะเขาใช CPU รวมถึงการจัดอุปกรณรับ และแสดงผล
ไมใหเกิดความขัดแยงกัน
41
ชนิดของระบบปฏิบัติการ
42
ระบบ Multiuser
ชนิดของระบบปฏิบัติการ
• การทํางานในลักษณะ multiuser ยังแบงเปนการทํางานแบบ Time
sharing คือการแบงชวงเวลา
• การเขาใช CPU ใหแตละโปรแกรมเปนชวงสั้น ๆ ผลัดเปลี่ยนเวียนให
หลายงานไดมีโอกาสเขา CPU
• ผูใชแตละคนจะมีความรูสึกวาตนไดเปนผูครอบครองคอมพิวเตอรแต
เพียงผูเดียว ตัวอยาง
• ระบบปฏิบัติการแบบนี้ไดแก UNIX, VMS
43
44
โครงสรางของระบบปฏิบัติการ
(Operating system structure)
1 สวนประกอบของระบบ (System Component)
การจัดการโปรเซส (Process Management)
การจัดการหนวยความจํา (Memory Management)
การจัดการไฟล (File Management)
การจัดการอินพุต / เอาตพุต (I/O System Management)
การจัดการสื่อจัดเก็บ (Storage Management)
เครือขาย (Network)
ระบบปองกัน (Protection System)
ระบบตัวแปลคําสั่ง (Command-Interpreter System)
45
โครงสรางของระบบปฏิบัติการ
(Operating system structure)
2 บริการของระบบปฏิบัติการ (Operating System Services)
การเอ็กซีคิวตโปรแกรม
การปฏิบัติกับอินพุต/เอาตพุต
การจัดการระบบไฟล
การติดตอสื่อสาร
การตรวจจับขอผิดพลาด
การใชทรัพยากรรวมกัน
46
โครงสรางของระบบปฏิบัติการ
(Operating system structure)
3 System Call
เปนสวนที่จัดไวใหผูใชสามารถเรียกใชงานไดอยางสะดวกโดยไมจําเปนตองรู
กลไกมากมาย
การควบคุมโปรเซส (Process Management)
การจัดการกับไฟล (File Management)
การจัดการอุปกรณ (Device Management)
การบํารุงรักษาขอมูล (Data Maintainant)
การติดตอสื่อสาร (Communication)

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คโครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คNichakarnkvc
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์iamaomkitt
 
Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3Nuth Otanasap
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8Aungkana Na Na
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานpam123145
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล krooKob
 
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์Hikaru Sai
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลย
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลยข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลย
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลยpeter dontoom
 
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการพฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการUtai Sukviwatsirikul
 
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"Mahidol University, Thailand
 
รายงาน Power point
รายงาน Power pointรายงาน Power point
รายงาน Power pointThank Chiro
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”Royphim Namsongwong
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNoppakhun Suebloei
 
แบบทดสอบออนไลน์ Google docs
แบบทดสอบออนไลน์ Google docsแบบทดสอบออนไลน์ Google docs
แบบทดสอบออนไลน์ Google docsSamorn Tara
 
Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Nuth Otanasap
 

La actualidad más candente (20)

โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คโครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
 
Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
 
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบงานที่  5.1 เรื่อง    ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบงานที่  5.1 เรื่อง    ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลย
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลยข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลย
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลย
 
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการพฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
 
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์  ชุดที่  4แบบทดสอบคอมพิวเตอร์  ชุดที่  4
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
 
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
 
รายงาน Power point
รายงาน Power pointรายงาน Power point
รายงาน Power point
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
ข้อสอบ Power point 2010
ข้อสอบ Power point 2010ข้อสอบ Power point 2010
ข้อสอบ Power point 2010
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
แบบทดสอบออนไลน์ Google docs
แบบทดสอบออนไลน์ Google docsแบบทดสอบออนไลน์ Google docs
แบบทดสอบออนไลน์ Google docs
 
Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1
 

Destacado

สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์supatra2011
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์konkamon
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2Mevenwen Singollo
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศLupin F'n
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4Mevenwen Singollo
 
แนวข้อสอบ คอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบ คอมพิวเตอร์แนวข้อสอบ คอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบ คอมพิวเตอร์Jinwara Sriwichai
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์peter dontoom
 
"โรงเรียน ICU" ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทย
"โรงเรียน ICU" ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทย"โรงเรียน ICU" ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทย
"โรงเรียน ICU" ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทยPR OBEC
 
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์เบื้องต้นแบบทดสอบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์เบื้องต้นKusuma Niwakao
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft WordSupreeyar philarit
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์tugkrung
 
Saturated hydrocarbons alkanes
Saturated hydrocarbons alkanesSaturated hydrocarbons alkanes
Saturated hydrocarbons alkanesAnnika Sorensen
 
Ch 1 introos
Ch 1 introosCh 1 introos
Ch 1 introosporpat21
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกคอมพิวเตอร์ 2
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกคอมพิวเตอร์ 2แนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกคอมพิวเตอร์ 2
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกคอมพิวเตอร์ 2ประพันธ์ เวารัมย์
 

Destacado (20)

สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
 
แนวข้อสอบ คอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบ คอมพิวเตอร์แนวข้อสอบ คอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบ คอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internetข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
 
KKU e-Learning
KKU e-LearningKKU e-Learning
KKU e-Learning
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
 
"โรงเรียน ICU" ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทย
"โรงเรียน ICU" ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทย"โรงเรียน ICU" ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทย
"โรงเรียน ICU" ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทย
 
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์เบื้องต้นแบบทดสอบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
 
แนวข้อสอบวิชาชีพครู
แนวข้อสอบวิชาชีพครูแนวข้อสอบวิชาชีพครู
แนวข้อสอบวิชาชีพครู
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
Saturated hydrocarbons alkanes
Saturated hydrocarbons alkanesSaturated hydrocarbons alkanes
Saturated hydrocarbons alkanes
 
Ch 1 introos
Ch 1 introosCh 1 introos
Ch 1 introos
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกคอมพิวเตอร์ 2
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกคอมพิวเตอร์ 2แนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกคอมพิวเตอร์ 2
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาเอกคอมพิวเตอร์ 2
 
C chap2
C chap2C chap2
C chap2
 

Similar a ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ (Introduction to Operating System)

Software 7
Software 7Software 7
Software 7paween
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นTonic Junk
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นTonic Junk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Nattapon
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานwanuporn12345
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
คำศัพท์ที่ควรทราบ
คำศัพท์ที่ควรทราบคำศัพท์ที่ควรทราบ
คำศัพท์ที่ควรทราบossaga
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์wanuporn12345
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศNpatsa Pany
 
3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structurekrissapat
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-Work 3-11
เทคโนโลยีสารสนเทศ-Work 3-11เทคโนโลยีสารสนเทศ-Work 3-11
เทคโนโลยีสารสนเทศ-Work 3-11Log-os Selrez
 
Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]twatfangmin
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ Peem Jirayut
 

Similar a ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ (Introduction to Operating System) (20)

Software 7
Software 7Software 7
Software 7
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
223333
223333223333
223333
 
Learnning02
Learnning02Learnning02
Learnning02
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
คำศัพท์ที่ควรทราบ
คำศัพท์ที่ควรทราบคำศัพท์ที่ควรทราบ
คำศัพท์ที่ควรทราบ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure
 
Learnning 04
Learnning 04Learnning 04
Learnning 04
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-Work 3-11
เทคโนโลยีสารสนเทศ-Work 3-11เทคโนโลยีสารสนเทศ-Work 3-11
เทคโนโลยีสารสนเทศ-Work 3-11
 
Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]
 
แผ่นผับ
แผ่นผับแผ่นผับ
แผ่นผับ
 
โครงาน
โครงานโครงาน
โครงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ (Introduction to Operating System)

  • 1. ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับ ระบบปฏิบัติการ (Introduction to Operating System) 1 โดย ครูเพชรพะเยาว แยมยินดี
  • 2. ระบบปฏิบัติการ • ระบบปฏิบัติการเปนโปรแกรมที่ทําหนาที่เปนผูประสาน ระหวางผูใชคอมพิวเตอร และเครื่องคอมพิวเตอร • จุดประสงคของระบบปฏิบัติการ –คือการจัดเตรียมสิ่งที่จําเปนในการประมวลผลแกผูใช เพื่อใหความสะดวกสบาย แกผูใชและมีการใชทรัพยากร ตางๆ อยางมีประสิทธิภาพ 2
  • 3. อะไรคือระบบปฏิบัติการที่แทจริง –ระบบปฏิบัติการหรือ OS เปนไดทั้ง •ซอฟตแวร •ฮารดแวร •เฟรมแวร(Firmware) •หรือผสมผสานกันก็ได –เปาหมายการทํางานของ OS •คือสามารถใหผูใชคอมพิวเตอรใชงานคอมพิวเตอรไดโดย ผูใชไมจําเปนตองทราบกลไกการทํางานของฮารดแวร 3
  • 4. • ซอฟแวร OS –คือ OS ที่เปนโปรแกรมควบคุมการทํางานของเครื่อง คอมพิวเตอร 4 อะไรคือระบบปฏิบัติการที่แทจริง
  • 5. • ฮารดแวร OS –คือ OS ที่ถูกสรางขึ้นจากอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกสเปน สวนหนึ่งของฮารดแวรของเครื่องดวย มีหนาที่ เชนเดียวกัน •ขอดี ในการสรางฮารดแวร OS ก็เพราะมันสามารถทํางาน ไดรวดเร็วกวาซอฟตแวร OS •ขอเสีย การปรับปรุงแกไข OS นั้นยุงยากอาจําทําไมได นอกจากนี้ยังมีราคาแพงอีกดวย การเปลี่ยนแปลงครั้งหนึ่ง นั่นหมายถึง การสรางเครื่องคอมพิวเตอรใหมก็วาได 5 อะไรคือระบบปฏิบัติการที่แทจริง
  • 6. • เฟรมแวร OS – คือ OS ที่เขียนขึ้นโดยใชคําสั่งไมโคร ทําใหมีความเร็วสูงกวาซอฟตแวร OS แตยังชากวา ฮารดแวร OS การแกไขเฟรมแวร OS คอนขางยากและ คาใชจายมาก แตยังถูกวาการเปลี่ยนแปลงฮารดแวร OS – เฟรมแวร หมายถึง สวนโปรแกรมที่เก็บไวเปนสวนหนึ่งของเครื่อง คอมพิวเตอร โปรแกรมเหลานี้เรียกวา ไมโครโปรแกรม(Microprogram) แต ละโปรแกรมประกอบขึ้นจากคําสั่งหลายๆ คําสั่ง คําสั่งเหลานี้เรียกวา คําสั่ง ไมโคร(Microinstruction) คําสั่งไมโครเปนชุดคําสั่งในระดับที่ต่ําที่สุดของ ระบบของคอมพิวเตอรควบคุมการทํางานของซีพียูในทุกๆขั้นตอน 6 อะไรคือระบบปฏิบัติการที่แทจริง
  • 7. • ดังนั้น OS ทั่วไปจะถูกสรางขึ้นเปนซอฟตแวร เนื่องจาก ปรับปรุงแกไขขอบกพรองที่มีไดงาย • แตในบางสวนของ OS ที่ถูกใชงานบอยมากๆ ก็จะถูก สรางโปรแกรมไวดวยไมโครโปรแกรมเพื่อทํางานไดเร็วขึ้น 7 อะไรคือระบบปฏิบัติการที่แทจริง
  • 8. นิยามของระบบปฏิบัติการ 1.1 Resource allocator บริหารการจัดสรรทรัพยากร เชน การ จัดการฮารดดิสก (Hard disk) หนวยความจํา (Memory) เครื่องพิมพ (printer) ใหเกิดประโยชนไดอยางเต็มที่ 1.2 Control program ควบคุมการเอ็กซีคิวส (Execute) โปรแกรม ของผูใช และการทํางานของอุปกรณรับ-สงขอมูล 1.3 Kernel (แกนแท) โปรแกรมที่ทํางานอยูตลอดเวลาบน คอมพิวเตอร(ในระดับฮารดแวรของเครื่อง) 8
  • 9. นิยามของระบบปฏิบัติการ • จากคํานิยามดังกลาว พอสรุปไดวา • ระบบปฏิบัติการ คือ โปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่เปน ตัวเชื่อมหรือประสานงาน ระหวางผูใชงานกับฮารดแวร ของเครื่อง ใหสามารถทํางานโดยสะดวก โดยที่ผูใชไม จําเปนตองรูกลไกการทํางานของเครื่องก็สามารถที่จะใช งานคอมพิวเตอรได 9
  • 12. สวนประกอบของระบบคอมพิวเตอร • สวนของเครื่อง ประกอบดวย CPU, หนวยความจํา และ อุปกรณรับและแสดงผล ซึ่ง สิ่งเหลานี้ถือวาเปน ทรัพยากรคอมพิวเตอร • โปรแกรมประยุกต (ตัวแปลภาษา ระบบฐานขอมูล,โปรแกรมทางธุรกิจ เปนตน) เปน ตัวกําหนดการใชทรัพยากรคอมพิวเตอรในการแกปญหาของผูใช ซึ่งอาจจะมีผูใช หลายคนใชคอมพิวเตอรทํางานหลาย ๆ อยางในเวลาเดียวกัน • ระบบปฏิบัติการจะตองควบคุม และประสานงานระหวางโปรแกรมประยุกต ของผูใช เหลานี้รวมทั้งจัดสรรทรัพยากรใหอยางเหมาะสม • ดังนั้นเราจะกลาวไดวา ระบบปฏิบัติการคือโปรแกรมโปรแกรมหนึ่งซึ่งทํางานอยู ตลอดเวลา เพื่ออํานวยความสะดวกแกผูใชและจัดสรรทรัพยากรใหแกผูใชได เหมาะสม 12
  • 13. หนาที่ของระบบปฏิบัติการ 13 1. ติดตอกับผูใช (User interface) ผูใชสามารถติดตอหรือควบคุมการทํางานของเครื่อง ผานทางระบบปฏิบัติการได ซึ่งผูใชจะพิมพคําสั่งหรือ เลือก สัญลักษณตามที่ตองการ เพื่อใหระบบปฏิบัติการจัดการกับ เครื่องคอมพิวเตอรตามตองการเชน การสั่ง copy แฟมขอมูล นอกจากนี้ผูใชยังสามารถติดตอกับ ระบบปฏิบัติการ ไดโดยผานทาง system call ซึ่งเปนการเรียกใชโปรแกรมยอย ตาง ๆของระบบปฏิบัติการ
  • 14. หนาที่ของระบบปฏิบัติการ 2. ควบคุมดูแลอุปกรณและการทํางานของเครื่อง คอมพิวเตอร เนื่องจากโปรแกรมของผูใชจะตองเกี่ยวของกับอุปกรณ คอมพิวเตอรหลายสวน ซึ่งผูใชอาจไมจําเปนตอง มีความเขาใจถึง หลักการทํางานของเครื่อง ดังนี้ระบบปฏิบัติการจึงตองมีหนาที่ควบคุมดูแลการทํางานของ อุปกรณตาง ๆ เพื่อใหการทํางานของระบบเปนไปไดอยางถูกตอง และ สอดคลองกัน 14
  • 15. หนาที่ของระบบปฏิบัติการ 3. จัดสรรทรัพยากรตาง ๆ ในระบบ ทรัพยากร คือสิ่งที่ถูกใชไปเพื่อใหโปรแกรมสามารถดําเนินไปได เชน CPU หนวยความจํา ดิสก เปนตน สาเหตุที่ตองมีการจัดสรรทรัพยากรคือ - ทรัพยากรของระบบมีจํากัด เราตองจัดสรรใหโปรแกรมของผูใช ทุกคนไดใชทรัพยากร อยางเหมาะสม - มีทรัพยากรอยูหลายประเภท บางโปรแกรมอาจตองการใช ทรัพยากรหลายอยางพรอมกัน ระบบปฏิบัติการจึงตองมีการเตรียม ทรัพยากรตาง ๆ ตามความตองการของแตละโปรแกรม - ทรัพยากรหลักที่ระบบปฏิบัติการจัดสรรไดแก โปรเซสเซอร หนวยความจํา อุปกรณอินพุต-เอาทพุต ขอมูล 15
  • 16. วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ รุนที่ 0 (The Zeroth genaration) ยังไมมีระบบปฏิบัติการ (ค.ศ. 1940) ระบบคอมพิวเตอรในยุคแรก ๆ เชน ENIAC นั้นยังไมมีระบบปฏิบัติการ การสั่งงานจะทําดวยมือทุก ขั้นตอน เริ่มแรกโปรแกรมเมอรจะโหลด โปรแกรมจาก tape กระดาษ หรือบัตรเจาะรูเขาสูหนวยความจําของ เครื่อง โดยการกดปุมจาก console จากนั้นก็สั่งใหเริ่มทํางานโดยกดปุม เชนกัน ในขณะที่โปรแกรมกําลังทํางานโปรแกรมเมอรหรือโอเปอรเรเตอร จะตองคอยดูอยูตลอดเวลา หากเกิด error ขึ้น จะตองหยุดการทํางาน และจําคาของรีจิสเตอร และแกไขโปรแกรมโดยตรงจาก console output จะถูกบันทึกลงใน tape กระดาษหรือบัตรเจาะรู 16
  • 17. วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ รุนที่ 1 (the first generation) ระบบประมวลผลแบบกลุม (ค.ศ. 1950) กอนที่จะเริ่มมีการพัฒนาระบบปฏิบัติการขึ้นมา การใชงานเครื่อง คอมพิวเตอรนั้น ตองสูญเสียเวลามากในชวงที่งาน (Job)หนึ่งเสร็จสิ้นลง และเริ่มตนรันงานตอไป ถาเรามีงานหลายๆ งานรอที่จะใหคอมพิวเตอรรัน เราก็จะตอง เสียเวลาเปนอันมาก และนอกจากนี้เราตองทํางานเชนนี้ซ้ําอยูหลายครั้ง 17
  • 18. วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ รุนที่ 1 (the first generation) ระบบประมวลผลแบบกลุม (ค.ศ. 1950) ดวยเหตุนี้ระบบปฏิบัติการจึงถูกสรางขึ้นมาเพื่อทํางานชิ้นนี้แทนมนุษยซึ่ง เรียกวาเปน ระบบประมวลผลแบบกลุม (batch processing systems) นั่นคือ มีการรวบรวมงานของผูใชเขาเปนกลุม หรือเรียกวา แบตซ (batch) แลว สงไปประมวลผลพรอมกัน เมื่อโปรแกรมหนึ่ง ทํางานเสร็จ ระบบปฏิบัติการก็จะ ทํางานตอไปเขามาประมวลผลตอ แตก็จะมีปญหางานที่ประมวลผล ในลําดับตน ๆ เปนงานที่ใชเวลานาน งานที่อยูทาย ๆ ตองรอเปนเวลานาน 18
  • 19. วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ รุนที่ 2 (the second generaiton) ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (ค.ศ. 1960) ในยุคนี้ OS สามารถที่จะทํางานในลักษณะมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming) และเปนจุดเริ่มตนของระบบมัลติโปรเซสซิ่ง (Multiprocessing) ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง มีการเก็บโปรแกรมหลาย ๆ โปรแกรมเขาไวใน หนวยความจําพรอมกัน มีการใชทรัพยากรรวมกัน เชนใหโปรแกรมผลัดเปลี่ยนกัน เขาใช CPU ที่ละโปรแกรมในชวงเวลาสั้น ๆ จึงทําใหหลาย ๆ โปรแกรมได ประมวลผลในเวลาที่ใกลเคียงกัน แตก็ยังมีปญหาผูใชไมสามารถนําโปรแกรมประยุกตจากเครื่องที่ตางกันมา ใชรวมกันได เนื่องจากระบบปฏิบัติการของแตละเครื่องมีความแตกตางกัน ผูใช จะตองเสียเวลาในการเขียนโปรแกรมใหมเมื่อเปลี่ยนเครื่อง 19
  • 20. วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ • ระบบ real-time ก็เกิดขึ้นในชวงนี้เชนกัน –ระบบ real-time • คือระบบที่สามารถใหการตอบสนองจากระบบอยางทันทีทันใดเมื่อรับ อินพุตเขาไปแลว • ในทางอุดมคติ real-time คือระบบที่ไมเสียเวลาในการประมวลผลหรือ เวลาในการประมวลผลเปนศูนย แตในทางปฏิบัติเราไมสามารถผลิต เครื่องคอมพิวเตอรในลักษณะนี้ได ทําไดแคลดเวลาการประมวลผลของ เครื่องใหนอยที่สุดเทาที่จะทําได • สวนมากจะนําไปใชในการควบคุมกระบวนการตางๆ ในงานอุตสาหกรรม 20
  • 21. วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ • รุนที่ 3 (the third generation) ระบบปฏิบัติการ เอนกประสงค (กลาง ค.ศ. 1960 ถึงกลาง ค.ศ. 1970) –OS ในยุคนี้ถูกออกแบบมาใหสามารถใชไดกับคอมพิวเตอรหลาย ๆ แบบในรุนเดียวกัน และใชไดกับงาน หลาย ๆ ประเภท ไมไดเจาะจง ลงไปที่ลักษณะงานใดงานหนึ่ง ทั้งนี้เปนเพราะเหตุผลทางการคา ผูเขียนโปรแกรม OS ตองการยอดขายใหไดมาก จึงเขียน OS ใหใคร ก็ไดสามารถใช OS ของเขาได และใชกับงานหลายประเภทได สงผลให OS มีขนาดใหญ ทํางานชาลงและแพงขึ้น 21
  • 22. วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ • รุนที่ 4 (the forth generation) ระบบเครือขายคอมพิวเตอร (กลาง ค.ศ. 1970 ถึงปจจุบัน) –เทคนิคการเขียนโปรกรม OS ในรุนที่ 3 เริ่มถึงจุดอิ่มตัว ในยุคนี้ OS จึงถูกพัฒนาใหมีความสามารถในงานพิเศษอื่นๆ เพิ่มขึ้น ระบบ เครือขายคอมพิวเตอร (computer network) ระบบนี้ผูใชสามารถใช งานคอมพิวเตอรติดตอกับเครื่องคอมพิวเตอร ของผูอื่นโดยผานทาง เทอรมินอลชนิดตาง ๆ ซึ่งตองเชื่อมโยงกันเปนเครือขายและกระจาย ไปตามจุดตาง ๆ เชนภายในอาคารสํานักงานภายในจังหวัด และทั่ว โลก ซึ่งทําใหสามารถใชสารสนเทศรวมกันไดโดยไมตองคํานึงถึง ระยะทาง และชนิดของคอมพิวเตอร 22
  • 23. วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ • แนวคิดเรื่องเครื่องคอมพิวเตอรเสมือน (virtual machine) เริ่มนํามาใชงานอยาง กวางขวาง • เครื่องคอมพิวเตอรเสมือน หมายถึง การแปลงเครื่องคอมพิวเตอรที่เรามีอยูให กลายเปนเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องอื่น โดยที่ผูใชไมจําเปนตองยุงยากเกี่ยวกับ รายละเอียดทางดานฮารดแวรของระบบคอมพิวเตอรอีกตอไป • ผูใชสามารถสรางเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนไดโดยการใช OS • ระบบเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนจะมี OS อีกตัวหนึ่งติดตอกับผูใช และทํางานอยูบน OS ของเครื่อง ซึ่ง OS ตัวที่ 2 นี้จะเปน OS ที่ถูกสรางขึ้นใหเหมือนกับ OS ของ เครื่องอื่นที่เราตองการใหระบบคอมพิวเตอรของเราเปน • ดังนั้นคอมพิวเตอรและ OS ตัวแรกจะเปรียบเสมือนเปนเครื่องคอมพิวเตอรเครื่อง ใหมในสายตาของผูใช 23
  • 26. 1. ระบบที่ไมมีระบบปฏิบัติการ (Non operating system) –ยุคแรก ๆ คอมพิวเตอรมีแตเครื่องเปลา ๆ ผูใชตองเขียน โปรแกรมสั่งงาน ตรวจสอบการทํางาน ปอนขอมูล และ ควบคุมเอง ทําใหระยะแรกใชกันอยูในวงจํากัด 26
  • 27. 2. ระบบงานแบ็ตซ (Batch system) –ในอดีต คอมพิวเตอรจะทํางานไดครั้งละ 1 งาน การสั่งงาน คอมพิวเตอรใหมีมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทําไดโดยการรวมงาน ที่คลายกัน เปนกลุม แลวสงใหเครื่อง ประมวลผล โดยผูทํา หนาที่รวมงาน จะรับงานจากนักพัฒนาโปรแกรม มาจัดเรียง ตามความสําคัญ และตามลักษณะของโปรแกรม จัดเปน กลุมงาน แลวสงให คอมพิวเตอรประมวลผล 27
  • 28. 3. ระบบบัฟเฟอร (Buffering system) –การทํางานเพื่อขยายขีดความสามารถของระบบ ทําใหหนวย รับ-แสดงผลสามารถทํางานไปพรอม ๆ กับการประมวลผล ของซีพียู ในขณะที่ประมวลผลคําสั่งที่ ถูกโหลดเขาซีพียูนั้น จะมีการโหลดขอมูลเขาไปเก็บในหนวยความจํากอน เมื่อถึง เวลาประมวลผลจะสามารถทํางานไดทันที และโหลดขอมูล ตอไปเขามาแทนที่ หนวยความจําที่ทําหนาที่เก็บขอมูลที่ เตรียมพรอมนี้เรียกวา บัฟเฟอร (buffer) 28
  • 29. 4. ระบบสพูลลิ่ง (Spooling) • Simultaneous Peripheral Operating On-Line เปน multiprogramming พื้นฐาน ทําใหซีพียูทํางานเต็มประสิทธิภาพ เพราะ ทําใหสามารถทํางานได 2 งานพรอมกัน งานแรกคือประมวลผลในสวน ของซีพียู งานที่สองคือการรับ-แสดงผลขอมูล ซึ่งตางกับ buffer ที่ซีพียู และหนวยรับ-แสดงผลทํางานรวมกัน และ spooling มี job pool ทําให สามารถเลือกการประมวลผลตามลําดับกอนหลังได โดยคํานึงถึง priority เปนสําคัญ 29
  • 30. 5. ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming) • การทํางานที่โหลดโปรแกรมไปไวในหนวยความจําหลัก และ พรอมที่จะประมวลผลไดทันที ระบบปฏิบัติการจะเลือกงานเขา ไปประมวลผลจนกวาจะหยุดคอยงานบางอยาง ในชวงที่หยุด รอจะดึงงานเขาไปประมวลผลตอทันที ทําใหมีการใชซีพียูได อยางมีประสิทธิภาพ 30 ระบบปฏิบัติการ งานที่ 1 งานที่ 2 งานที่ 3 ...
  • 31. 6. ระบบแบงเวลา (Time-sharing หรือ Multitasking) • เปนการขยายระบบ multiprogramming ทําใหสามารถ สับเปลี่ยนงานของคนหลาย ๆ คนเขาสูซีพียู ซึ่งการสับเปลี่ยนที่ ทําดวยความเร็วสูงจะทําใหผูใชรูสึกเหมือน ครอบครองซีพียูอยู เพียงผูเดียว 31
  • 32. 7. ระบบเรียลไทม (Real-time system) • จุดประสงคอีกอยางหนึ่งของ ระบบปฏิบัติการ คือ ระบบเวลาจริง(Real- time system) หมายถึงการตอบสนองทันที เชนระบบ Sensor ที่สง ขอมูลใหคอมพิวเตอร เครื่องมือทดลองทางวิทยาศาสตร ระบบภาพทาง การแพทย ระบบควบคุมในโรงงานอุตสาหกรรม ระบบหัวฉีดในรถยนต ระบบควบคุมการยิง ระบบแขนกล และ เครื่องใชในครัวเรือนทั้งหมด • Real-time แบงได 2 ระบบ – 1. Hard real-time system เปนระบบที่ถูกรับรองวาจะไดรับการตอบสนอง ตรงเวลา และหยุดรอไมได – 2. Soft real-time system เปนระบบ less restrictive type ที่สามารถรอให งานอื่นทําใหเสร็จกอนได 32
  • 33. 8. ระบบคอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal Computer System) • ปจจุบันคอมพิวเตอรราคาถูกลง มีการพัฒนาอุปกรณตาง ๆ อยาง ตอเนื่อง ทั้งแปนพิมพ เมาส จอภาพ หนวยความจํา หนวยประมวลผล เปนตน และการใชคอมพิวเตอร ไมไดมุงเนนดานธุรกิจเพียงอยางเดียว แตนําไปใชเพื่อความบันเทิงในบานมากขึ้น และกลายเปนสิ่งจําเปน สําหรับทุกองคกร นอกจากคอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ(Desktop) ยังมี คอมพิวเตอรแบบสมุดโนต(Notebook) และคอมพิวเตอรมือถือ (PDA) ปจจุบันมีโทรศัพทมือถือที่ทํางานแบบคอมพิวเตอร และใชดูหนังฟง เพลง หรือประมวลผล ตาง ๆ ที่ซับซอนมากขึ้น ใกลเคียงกับ คอมพิวเตอรแบบตั้งโตะยิ่งขึ้น 33
  • 34. 9. ระบบเวอรชวลแมชีน (Virtual machine) • เครื่องเสมือน ทําใหผูใชคอมพิวเตอรรูสึกเหมือนใชคอมพิวเตอร เพียงคนเดียว แตในความเปนจริงจะบริการใหผูใชหลายคน ใน หลายโปรเซส โดยใชเทคโนโลยี Virtual machine บริการงาน ตาง ๆ ใหกับผูใชไดหลาย ๆ งานพรอมกัน 34
  • 35. 10. ระบบมัลติโปรเซสเซอร (Multiprocessor system) • Symmetric-multiprocessing การประมวลผลแบบสมมาตร หมายถึงการประมวลผลหลายโปรเซสเซอรที่ไมมีโปรเซสเซอร ตัวใดรับโหลดมากกวาตัวอื่น • Asymmetric-multiprocessing การประมวลผลแบบไมสมมาตร หมายถึงการมีโปรเซสเซอรตัวหนึ่งเปนตัวควบคุม และแบงงาน แตละแบบใหโปรเซสเซอรแตละตัวตามความเหมาะสม 35
  • 36. 11. ระบบแบบกระจาย (Distributed system) • ระบบเครือขาย ที่กระจายหนาที่ กระจายการเปนศูนยบริการ และเชื่อมตอเขาดวยกัน ดวยจุดประสงคตาง ๆ กัน ในมาตรฐาน TCP/IP ซึ่งเปนที่ยอมรับทั้ง Windows, Linux, Unix และ Mac ทําใหทั้งหมดสามารถสื่อสารกันรูเรื่องเขาใจ และกอใหเกิด ประโยชนรวมกัน 36
  • 37. ชนิดของระบบปฏิบัติการ 1. Single-Tasking เปนระบบปฏิบัติการที่ยอมใหมีผูใชเพียงคนเดียว และทํางานไดเพียงอยาง เดียวในชวงเวลาใด เวลาหนึ่ง เชนในขณะที่ทําการแปลโปรแกรม ก็ไมสามารถ เรียกใช Editor ได การจัดการทรัพยากรตาง ๆ ของระบบปฏิบัติการจะไมซับซอนนัก ไมวาจะเปนการจัดการอุปกรณรับ และแสดงผล การจัดการหนวยความจํา การ จัดการดิสก ตัวอยางเชน - อานและแปลคาจากการกดแปนพิมพ - สงขอมูลไปบันทึกในดิสก หรือพิมพออกทางเครื่องพิมพ - จัดการที่วางบนดิสก - แยกเก็บโปรแกรม คอมพิวเตอร editor และโปรแกรมระบบปฏิบัตการใน หนวยความจํา ตัวอยางของระบบปฏิบัติการแบบนี้ไดแก MS DOS 37
  • 39. ชนิดของระบบปฏิบัติการ 2. Multitasking (Single-User) เปนระบบปฏิบัติการที่ยอมใหมีผูใชเพียงคนเดียวในชวงเวลาหนึ่ง แต สามารถทํางานไดหลายอยาง ในเวลาเดียวกัน เชนสามารถที่จะใช editor ไป พรอม ๆ กับพิมพงานอื่นทางเครื่องพิมพไดระบบปฏิบัติการจะสลับการใชงาน ระหวาง CPU และทรัพยากรอื่น ๆ อยางรวดเร็วจนผูใชไมรูสึกวาถูกขัดจังหวะการ ทํางาน เนื่องจากมีการทํางานหลายอยางในเวลาเดียวกัน การทํางานของ ระบบปฏิบัติการจะซับซอนขึ้น เชนการจัดการหนวยความจํา จะตองมีโปรแกรม หลายโปรแกรมเก็บอยูในหนวยความจําในเวลาเดียวกัน ระบบปฏิบัติการจะตอง ไมใหโปรแกรมเหลานั้นกาวกายกัน ซึ่งอาจจะตองมีการจัดลําดับ หรือเลือกงาน เพื่อเขาใชทรัพยากรตางๆ และใชเปนเวลานานเทาใด ตัวอยางระบบปฏิบัติการ แบบนี้ไดแก Windows 95, UNIX, OS/2, VMS 39
  • 41. ชนิดของระบบปฏิบัติการ 3. Multi-user systems บางครั้งเรียกระบบ multiprogramming เปนระบบที่มีความซับซอนกวาระบบ Single user หลักการของระบบนี้ก็คือ - การใหมีโปรแกรมอยูในหนวยความจําพรอมที่จะถูกประมวลผลไดหลาย ๆ โปรแกรม ระบบปฏิบัติการจะเลือกโปรแกรมมา 1 โปรแกรมให CPU ทําการ ประมวลผล ไปเรื่อย ๆ เมื่อโปรแกรมนั้นตองติดตอกับอุปกรณรับและแสดงผล ระบบปฏิบัติการก็จะเลือกโปรแกรมอื่นเขามาใช CPU แทน ระบบปฏิบัติการเลือก โปรแกรมใหแก CPU เรื่อย ๆ จนกวาแตละโปรแกรมจะเสร็จสิ้นไปการที่จะทํางาน หลาย ๆ โปรแกรมพรอม ๆ กัน ระบบปฏิบัติการตองคอยควบคุม และจัดสรร ทรัพยากรตาง ๆ ที่มีอยูอยางจํากัดใหแตโปรแกรม เชนจัดสรรเนื้อที่ในหนวยความจํา หลัก สับหลีกโปรแกรมที่จะเขาใช CPU รวมถึงการจัดอุปกรณรับ และแสดงผล ไมใหเกิดความขัดแยงกัน 41
  • 43. ชนิดของระบบปฏิบัติการ • การทํางานในลักษณะ multiuser ยังแบงเปนการทํางานแบบ Time sharing คือการแบงชวงเวลา • การเขาใช CPU ใหแตละโปรแกรมเปนชวงสั้น ๆ ผลัดเปลี่ยนเวียนให หลายงานไดมีโอกาสเขา CPU • ผูใชแตละคนจะมีความรูสึกวาตนไดเปนผูครอบครองคอมพิวเตอรแต เพียงผูเดียว ตัวอยาง • ระบบปฏิบัติการแบบนี้ไดแก UNIX, VMS 43
  • 44. 44 โครงสรางของระบบปฏิบัติการ (Operating system structure) 1 สวนประกอบของระบบ (System Component) การจัดการโปรเซส (Process Management) การจัดการหนวยความจํา (Memory Management) การจัดการไฟล (File Management) การจัดการอินพุต / เอาตพุต (I/O System Management) การจัดการสื่อจัดเก็บ (Storage Management) เครือขาย (Network) ระบบปองกัน (Protection System) ระบบตัวแปลคําสั่ง (Command-Interpreter System)
  • 45. 45 โครงสรางของระบบปฏิบัติการ (Operating system structure) 2 บริการของระบบปฏิบัติการ (Operating System Services) การเอ็กซีคิวตโปรแกรม การปฏิบัติกับอินพุต/เอาตพุต การจัดการระบบไฟล การติดตอสื่อสาร การตรวจจับขอผิดพลาด การใชทรัพยากรรวมกัน
  • 46. 46 โครงสรางของระบบปฏิบัติการ (Operating system structure) 3 System Call เปนสวนที่จัดไวใหผูใชสามารถเรียกใชงานไดอยางสะดวกโดยไมจําเปนตองรู กลไกมากมาย การควบคุมโปรเซส (Process Management) การจัดการกับไฟล (File Management) การจัดการอุปกรณ (Device Management) การบํารุงรักษาขอมูล (Data Maintainant) การติดตอสื่อสาร (Communication)