SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 126
การอบรมวิชาการเรื่อง 1 โดย นพ . ยุทธนา  สงวนศักดิ์โกศล ณ ห้องประชุม โรงพยาบาลจุฬารัตน์  9 วันที่  25  สิงหาคม  2549  เวลา  12.30 – 18.00  น . FMEA
เมื่อเกิดความผิดพลาดขึ้น ,[object Object],[object Object],หรือ ,[object Object],2
ความผิดพลาดในทางการแพทย์  เกิดจาก   ? ,[object Object],[object Object],[object Object],3 FMEA
[object Object],[object Object],[object Object],4 FMEA
[object Object],[object Object],รักษาโรคที่เป็น  -  มิใช่รักษาตามอาการ ,[object Object],[object Object],5 FMEA
ความยากและผลระยะยาว กลยุทธ์ในการลดความเสี่ยง วิธีปฏิบัติ ระดับความยากง่าย ประสิทธิผลระยะยาว ต่ำ -  ฝึกอบรมซ้ำ / ปรึกษา -  วิเคราะห์เพื่อวางกระบวนการใหม่ -  ใช้เทคโนโลยีช่วย - Culture  Change -  การลงโทษ ง่าย ยาก สูง 6 FMEA
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],7 ความยากและผลระยะยาว กลยุทธ์ในการลดความเสี่ยง FMEA
ถ้าเราเลือกวิธีวิเคราะห์ที่ระบบ  ระเบียบ  นโยบาย  และกระบวนการ  จะก่อให้เกิดประโยชน์ คือ 1.  ลดอุบัติการของความเสี่ยง 2.  คนทำงานเริ่มเรียนรู้  และป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำ 3.  โรงพยาบาลเราจะเริ่มบริหารความเสี่ยง แบบเชิงรุก และค้นหา  ความเสี่ยงก่อนเกิดปัญหาใหญ่ที่ทำให้คนไข้เราทุพพลภาพ เสียชีวิต 8
ข้อจำกัดเวลาทีมงานวิเคราะห์ความเสี่ยงเพื่อป้องกัน 1.  ไม่มีแม่พิมพ์หรือสูตรสำเร็จในทุกๆ ปัญหา ,[object Object],2.  มักใช้ประสบการณ์ในอดีต และหลงเชื่อว่าได้ผลทุกครั้ง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],9
3.  เวลาคนที่หาสาเหตุ  ( RCA)  จะไม่พยายามรวบรวมข้อมูลให้มากเพียงพอ  ที่จะหา  Root Cause  ได้อย่างมีประสิทธิผล ,[object Object],[object Object],[object Object],10 ,[object Object],[object Object]
[object Object],11 ,[object Object],[object Object],FMEA
What is Failure Mode and Effect Analysis ( FMEA) 12
คำกำจัดความของ  FMEA  : ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],13 FMEA
14 PROCESS FMEA   vs  DESIGN  FMEA PROCESS FMEA  =  วิเคราะห์โดยใช้  FMEA  ในกระบวนการที่มีอยู่แล้ว DESIGN FMEA  =  ทำการวิเคราะห์โดยใช้  FMEA  ค่อยมีกระบวนการ เช่น ,[object Object],[object Object],[object Object]
การบริหารจัดการเรื่องความเสี่ยงในโรงพยาบาล ,[object Object],[object Object],15
16 1.  ระดับความเสี่ยงที่คนไข้ยอมรับได้  ? ,[object Object],[object Object],ความเสี่ยง
2. FEASIBLE  RISK     คือลดความเสี่ยงลงในระดับที่องค์กรทำได้    และคุ้มค่าทางธุรกิจพอ  ? 3.  COMPARATIVE  RISK     คือลดความเสี่ยงให้ได้ระดับเท่ากับธุรกิจ    หรือการบริการในลักษณะเดียวกันกับองค์กรเรา  เช่น  ปลอดภัยเท่ากับสูบบุหรี่ 17
[object Object],18 ,[object Object],[object Object]
19 4.  DE MINIMIS RISK     คือลดความเสี่ยงต่ำสุดจนใกล้ศูนย์    เช่น  SIX  SIGMA  หรือดีกว่า  ? 5.  ZERO RISK    คือไม่ขอรับความเสี่ยงเลย เช่นการครอบครอง   อาวุธนิวเคลียร์โรงงานผลิตไฟฟ้านิวเคลียร์
FMEA  มีส่วนช่วยธุรกิจโรงพยาบาลอย่างไร 1.  เปลี่ยนแนวทางการบริหารจัดการเรื่องความเสี่ยงจาก  เชิงรับ   มาเป็น  เชิงรุก 2.  ลดการร้องเรียน และฟ้องร้อง 3.  เพิ่มช่องทางการตลาดให้ลูกค้ารับรู้  ว่าจุฬารัตน์ตระหนักเรื่อง  ผู้ป่วยปลอดภัย  (  ตามวิสัยทัศน์ของเรา  ) 4.  เปลี่ยนหน่วยงานบริหารความเสี่ยงมาเป็น หน่วยงานทำกำไร  ให้โรงพยาบาล 20
H EALTHCARE  F AILURE  M ODES AND  E FFECT  A NALYSIS 4.  คุณเห็นทางแก้ปัญหาบางอย่าง และอยากจะแสดงความคิดเห็นที่ดีกว่านี้ แก่ผู้อื่นหรือไม่  ? 21 ,[object Object],2.  คุณเคยตัดสินใจไปทางลัดในเส้นทางที่คุณคุ้นเคย  เมื่อคุณได้ยินหรือสังเกตุว่าถ้าไปทางเดิมจะมีการจราจรติดขัด  ? ,[object Object],HFMEA
1.  เลือกกระบวนการที่มีความเสี่ยงสูงของแผนก / หน่วย มาทำการวิเคราะห์ 2.  ใช้  Flowchart  ในการอธิบายขั้นตอนของกระบวนการที่ทีมงานเลือก 3.  ชี้บ่งถึงจุดที่จะเกิดข้อผิดพลาด หรืออาจจะทำผิดได้ในกระบวนการนั้น ทุกๆ  จุด  ( Failure Modes) 4.  ชี้บ่งผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้  (Effects )   อันเนื่องมาจากทุกข้อผิดพลาดที่เกิดในกระบวนการดูแลผู้ป่วยและผลกระทบนั้นรุนแรงมากน้อยขนาดไหน  (  ทุพพลภาพ  /  เสียชิวิต อย่าเข้าข้างตนเอง ) 22
5.  จัดลำดับความสำคัญของความรุนแรงจากข้อผิดพลาดต่างๆ  ที่วิเคราะห์  (  โดยอาศัย  Decision Tree) 6.  ถามว่า  “  ทำไม ”  “ ไม่ใช่ ”  “ ใคร ” 7.  ระดมสมองทีมงานในการออกแบบปรับกระบวนการ หรือ ระบบ / ระเบียบ / นโยบายใหม่ เพื่อลดความรุนแรงที่อาจเกิดกับชีวิตผู้ป่วยของเรา  8.  ทดสอบและลงมือทำตามกระบวนการใหม่ 9.  ติดตาม  ทวนสอบ  วัดผล  ความมีประสิทธิผลของกระบวนใหม่ 23
STEP1   คัดเลือกกระบวนการ  และจัดตั้งทีมงานดูแล โดยเฉพาะ STEP2   เขียนแผนผัง  หรือ  FLOW   ของกระบวนการนั้น STEP3   ระดมสมอง  ว่ามีอะไรบ้างที่อาจจะเป็นข้อผิดพลาด  ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ และบอกด้วยว่า  ผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นที่เลวร้ายสุดมีอะไรบ้าง   ( MODES  &  EFFECT) STEP4   ชี้บ่งสาเหตุของข้อผิดพลาด   ( CAUSES OF  FAILURE MODES ) 24 FMEA  STEP
STEP5   จัดอันดับความสำคัญของข้อผิดพลาด    ( PRIORITIZE  FAILURE  MODES ) STEP6   ออกแบบแผนผังกระบวนการใหม่   ( REDESIGN  THE  PROCESSES) STEP8   ลงมือปฏิบัติ  และทบทวน  ทวนสอบอย่างใกล้ชิด STEP7   วิเคราะห์ และทดสอบกระบวนการใหม่ 25
ตัวอย่าง   HIGH  RISKS  ที่กลุ่มควรจะคัดเลือกเป็น  SENTINEL  EVENT ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],STEP1  คัดเลือกกระบวนการ  และจัดตั้งทีมงานดูแล  โดยเฉพาะ 26
จัดตั้งทีมงาน ,[object Object],STEP 1   คัดเลือกกระบวนการ และจัดตั้งทีมงานดูแล โดยเฉพาะ 27 ,[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],28 FMEA คุณลักษณะเฉพาะของกระบวนการที่มีความเสี่ยงสูง
2.  ซับซ้อนมาก เช่นมีขั้นตอนการทำงานเป็นสิบๆ ขั้นตอนย่อมมีโอกาสสูง  ในการผิดพลาด 3. ไร้ซึ่งมาตรฐานในการปฏิบัติงาน คือทำตามความต้องการ มีการตัดสินใจเอง  ฉะนั้นการมี  Flow-Chart , CPG , Protocol  และ  Clinical Pathway  ก็เพื่อลดความแตกต่างในกระบวนการการดูแลรักษาคนไข้ 29 FMEA
4.  ต้องมีการปรับเปลี่ยนตามการเปลี่ยนของขั้นตอนที่เกิดก่อน  =  Tight Coupling  =  ฉันต้องเปลี่ยนตามคุณ  และอาจต้องสำรวจดูว่าขั้นตอนอื่นๆ ต้องเปลี่ยนด้วย หรือไม่  ผู้ปฏิบัติงานจะไม่ทราบว่ามีความผิดพลาดเกิดขึ้นก่อนหน้านี้แล้ว จึงเกิดความผิดพลาดซ้ำ ๆ  ตามมาเป็นกระบวน  ทำให้ผู้ปฏิบัติเข้าใจ  และเปลี่ยนแปลงยาก 30 FMEA
5.  ต้องอาศัยคนที่มีความสามารถเข้าจัดการ  เช่น  แพทย์สั่งยาเป็นตัวย่อ  เภสัช  พยาบาลที่คล่อง  และคุ้นเคยสามารถบริหารยาได้ถูกต้อง  โดยคนไข้ปลอดภัย 6.  ต้องทำงานในเวลาที่จำกัด / เร่งรีบ  แต่ในทางตรงกันข้ามขั้นตอนที่รอนาน  ได้ก็เกิดผิดพลาดได้เนื่องจากลืม  ไม่สนใจ  หรือถูกดึงความสนใจง่าย 31 FMEA
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],32 FMEA
STEP 2   เขียนแผนผัง หรือ  FLOW  ของกระบวนการนั้น ,[object Object],[object Object],33
34 แนวทางการเริ่มวิเคราะห์โดยใช้  PROCESS FMEA ,[object Object],MEDICATION  PROCESS  EXAMPLE แพทย์สั่งยา บันทึกและ  Transcribe ยาจากใบสั่งยา Dispense Medication Administer Medication Monitor Patient
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],35 เลือกหัวข้อในกระบวนให้แคบลง ที่เราจะเน้นปรับปรุงได้ดี
[object Object],[object Object],-  จุดเริ่มต้น ,[object Object],36 เลือกหัวข้อในกระบวนให้แคบลง ที่เราจะเน้นปรับปรุงได้ดี ,[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],37 เลือกหัวข้อในกระบวนให้แคบลง ที่เราจะเน้นปรับปรุงได้ดี
Narrowing  the  Scope ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],38
Narrow the Scope ,[object Object],[object Object],[object Object],Medication Process Example Which medication process? -  Outpatient scripts 39 Physician prescribes medication Patient presents prescription to pharmacy Pharmacy transcribes prescription into CHCS Pharmacy dispenses med Patient takes med Doctor follows up with patient at next appointment
[object Object],[object Object],[object Object],40 เลือกหัวข้อในกระบวนให้แคบลง ที่เราจะเน้นปรับปรุงได้ดี
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],STEP 2   เขียนแผนผัง หรือ  FLOW  ของกระบวนการนั้น 41
ข้อควรจำ 1.  เมื่อทีมเขียนแผนผังแล้ว  จะพบว่าหัวข้อที่ดูอาจใหญ่ไป 2.  ทีมต้องตกลงใจคัดเลือกให้แคบลง  ในส่วนที่พร้อมจัดการได้  แต่แผนผังใหญ่ก็ยังมีประโยชน์  เพื่อดูความสัมพันธ์ระหว่าง หน่วยงานใน  กระบวนการ  (  ต้องระดมสมองให้ดี  ) 3.  เมื่อลงมือเขียน  คุณอาจจะสังเกตุได้ว่า แผนผังอาจจะซับซ้อนกว่าตัวอย่างนี้  (  ดูอย่างผังองค์กรเราซิ  ) STEP 2   เขียนแผนผัง  หรือ  FLOW  ของกระบวนการนั้น 42
การเขียน  Flowchart  ของ  FMEA  แตกต่างจาก  RCA  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],43
การเขียน  Flowcharting ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],44
ทวนสอบความถูกต้องของ  Flowchart  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],45
ระดมสมองหาข้อผิดพลาดที่เกิดหรืออาจจะเกิด   ( Failure Modes) ,[object Object],[object Object],46 ,[object Object]
[object Object],ระดมสมองหาข้อผิดพลาดที่เกิดหรืออาจจะเกิด   ( Failure Modes) ,[object Object],[object Object],[object Object],47
(  Document Failure Modes ) ,[object Object],ลงบันทึกทุกข้อผิดพลาดที่เกิด หรืออาจจะเกิด   ,[object Object],48
Find Failure Modes ,[object Object],[object Object],Medication Process Example ,[object Object],[object Object],[object Object],49
50 Fishbone Diagram ( 5M1P  วิเคราะห์ )
[object Object],Brainstorm potential failure modes Failure modes answer the  WHAT  could go wrong question ของจุฬารัตน์เราใช้  Fishbone Diagram ( 5M1P  วิเคราะห์ ) 51 2.  Materials 3.  Equipment 4.  Methods 5.  Environment
ข้อควรจำ ,[object Object],[object Object],52
การระดมสมองเพื่อหาข้อผิดพลาด ,[object Object],[object Object],53 ,[object Object]
กฏพื้นฐานที่สมาชิกควรทำขณะระดมสมอง ,[object Object],54 ,[object Object],[object Object],-  จงจำไว้บ้างครั้ง ความคิดที่ดีที่สุดได้มาจาก ความคิดที่แปลกๆ ,[object Object],[object Object]
ขั้นตอนขณะระดมสมอง 1.  กำหนดหัวข้อที่ต้องการระดมสมองให้ชัดเจน ก่อนเริ่มเสมอ 55 -  ทุกคนเข้าใจตรงกัน และต้องอยู่ใน ขั้นตอนนั้นเท่านั้น   (  มิใช่ทุกขั้นตอนของกระบวนการ ) 2.  ใช้เวลาให้เหมาะสมต่อแต่ละปัญหา 3.  ต้องมีการกำหนดเวลา เพื่อแต่ละคนจะได้แสดงความคิดเห็นได้ครบ 4.  จด หรือบันทึกข้อคิดเห็นบน  Flipchart /  กระดาน  /  คอมพิวเตอร์ ตามจริง  ของเจ้าของความคิด  (  ต้องมีประธาน  +  กริยา  ) 5.  ทำความคิดเห็นนั้นให้กระจ่าง และเข้าใจตรงกันในทีม ขั้นตอนนี้ทำตอนทุกคน  ได้เสนอความคิดเห็นหมดแล้วเท่านั้น
[object Object],[object Object],[object Object],56 ,[object Object],[object Object],[object Object],ข้อควรจำขณะระดมสมอง
ข้อผิดพลาดจากการ  ได้รับยา  ในกระบวนการบริหารยา ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],1  ขั้นตอน แต่อาจมีหลายข้อผิดพลาด  เราควรพยายามหา  จุดที่สุ่มเสี่ยงสูง 57
การหาจุดที่สุ่มเสี่ยงสูง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],58
ตัวอย่างจุดที่สุ่มเสี่ยงสูง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],59
สิ่งที่ควรทราบเวลาหาข้อผิดพลาดขณะระดมสมอง ,[object Object],[object Object],[object Object],60
ข้อควรจำ ,[object Object],[object Object],61
Step 1 Step 2 Step 3 Select a high risk process & assemble the team Brainstorm Potential Failure Modes Step 4 Identify Causes of Failure Modes FMEA   STEP4   ชี้บ่งสาเหตุของข้อผิดพลาด     ( CAUSES  OF  FAILURE  MODES ) Diagram the  Process 62
Identify root causes of  failure  modes ,[object Object],FMEA   STEP4   ชี้บ่งสาเหตุของข้อผิดพลาด     ( CAUSES  OF  FAILURE  MODES ) 63 ,[object Object],[object Object],[object Object]
Potential Causes ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],64
Potential Causes ,[object Object],65 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Human Factors:  SHELL Model ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Hendrick, H.W. and Kleiner, B.M. editors (2002) Macroergonomics: Theory, Methods and Applications. Mahwah, New Jersey: Lawrence Erlbaum, Associates, Publishers. 66
การอบรมเรียนรู้ความสามารถในการตัดสินใจ การรีบรับ  ความสจใจ  ความคิด  ความจำ ,[object Object],67 แรงกดดันจากเศรษฐกิจ แรงกดดันจากนโยบายจากภาครัฐ ความต้องการของสมาชิกในสังคมที่อยู่นอกบริษัท  /  ระบบ กฏหมายและกฏระเบียบที่ควบคุมโดยรัฐ การเข้าเวรยาม และการรายงานความผิดพลาดที่ไม่ดี ความซับซ้อนจากการออกแบบของระบบ และวิธีปฏิบัติงาน พฤติกรรมองค์กร และการบริหารงานในองค์กรเอง ความซับซ้อนในการบังคับบัญชา เกี่ยวกับวัฒนธรรมด้านความปลอดภัย รูปแบบการเข้าเวรยามที่มีการทำงานเป็นกะ รูปแบบการรายงานความผิดพลาด พฤติกรรมของกลุ่ม และทีมงาน การสื่อสาร และร่วมมือ ความสมานฉันท์ ความเข้าใจรับรู้ในอำนาจหน้าที่รับผิดชอบ การสื่อสารที่สับสน หรือ การสนับสนุนสำหรับการสื่อสาร พฤติกรรมของคน ทักษะทางด้านจักรกล Physical Ergonomics -  การ์ยศาสตร์ทางกายภาพ รูปแบบและการจัดเรียง ของในที่ทำงาน แสง และ เสียง การออกแบบ และการบริหารจัดการ เครื่องมือทางกายภาพ แรงกดดันจากสังคม และวัฒนธรรม การรับรู้  ความสนใจ  ความคิด  ความจำ การอบรมเรียนรู้ความสามารถในการตัดสินใจ
Failure Mode ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],68 Using Cause and Effect Diagrams
บันทึกผลที่จะเกิดเมื่อเกิดข้อผิดพลาดทุกข้อ ,[object Object],* McDermott. Basics of FMEA THEN what are the consequences -  ทุกข้อผิดพลาดหาผลลัพธ์คืออะไร -  ถ้ามีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น ผลที่ติดตามมาคืออะไร ,[object Object],[object Object],[object Object],69
วิธีการวิเคราะห์ ความรุนแรงของผลกระทบ ผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้น   ( Hazard Analysis ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],70
PROACTIVE  :  HFMEA   :  ความปลอดภัย  9  ประการ 71
HFMEA TM ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],72
High Risk Prioritization ,[object Object],[object Object],73
EXAMPLE Step 3C. If process is complex, choose area to focus on. ตื่นนอน แต่งตัว ออกรถ ขับรถ จอดรถ เดินเข้าที่ทำงาน Scope  -  จุดเน้น -  ให้ตัวเลขกับทุกขั้นตอนของกระบวนการ -  คัดเลือกกระบวนการย่อยที่ต้องการเน้น  ( SCOPE ) -  ลงรายละเอียดในกระบวนการย่อย และให้หมายเลขกำกับ 1 2 3 4 5 6 74
EXAMPLE Step 3D. If necessary, list sub – process steps and  consecutively number. ตื่นนอน แต่งตัว ออกรถ ขับรถ จอดรถ เดินเข้าที่ทำงาน 1 A  กดปิดนาฬิกาปลุก 1 B  กดปิดนาฬิกาปลุกอีกครั้ง 1 C  ลุกจากเตียง 1 D  หารองเท้าแตะเพื่อใส่เดิน 2 A  ชงกาแฟ 2 B  อาบน้ำ 2 C  ใส่เสื้อผ้า 2 D  ใส่รองเท้าทำงาน 3 A  หากุญแจรถ 3 B  หากระเป๋าเงิน 3 C  หยิบถ้วยกาแฟ 3 D  ออกรถ จุดเน้น 4 A  วางแก้วกาแฟ 4 C  เปิดวิทยุฟัง 4 B  วางกระเป๋าเอกสารบนเบาะนั่ง 4 D  เลือกเส้น  ทางรถ 5 A  หาที่จอดรถ 6A 5 B 5 C 5 D 6B 6C 6D 1 2 3 4 5 6 75
ลงรายละเอียด ข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดได้ Step 4A. List all failure modes. 1 A.  กดปิดนาฬิกา ปลุก 1 B.  กดปิดนาฬิกาปลุกอีกครั้ง 1 C.  ลุกจากเตียง 1 D.  หารองเท้าแตะเพื่อใส่เดิน 76 1 A (1)  ไม่ได้ตั้งนาฬิกาปลุก 1 A (3)  นาฬิกาปลุกเสีย 1 A (2)  ไม่ได้เสียบปลั๊กนาฬิกาปลุก
SINGLE  POINT  WEAKNESS ,[object Object],[object Object],[object Object],จุดอ่อนที่สำคัญที่สุด ,[object Object],[object Object],[object Object],77
ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นจากข้อผิดพลาด ,[object Object],[object Object],78
Step 1 Step 3 Step 4 Step 2 Select a high risk process  & assemble  the team Diagram the process Brainstorm Potential Failure Modes Identify Causes of Failure Modes Step 5 Brainstorm Effects & Prioritize Failure Modes Calculate  Hazard Scores จัดอันดับความสำคัญของข้อผิดพลาด  ( PRIORITIZE  FAILURE  MODES ) FMEA  PROCESS STEP -  5 79
จัดอันดับความสำคัญของข้อผิดพลาด  ( PRIORITIZE FAILURE MODES ) STEP  5 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],80 STEP  5
ความรุนแรง  ( SEVERITY RATING ) 81 Patient Outcome : Permanent lessening of bodily functioning (sensory, motor, physiologic, or intellectual), disfigurement, surgical intervention required, increased length of stay for 3 or more patients, increased level of care for 3 or more patients Visitor Outcome :  Hospitalization of 1 or 2 visitors Staff Outcome :  Hospitalization of 1 or 2 staff or 3 or more staff experiencing lost time or restricted duty injuries or illnesses Equipment or facility :  ** Damage equal to or more than $100,00 Fire :  Not Applicable-See Moderate and Catastrophic Patient Outcome :  Death or major permanent loss of function  ( sensory,motor, physiologic, or intellectual), suicide, rape, hemolytic transfusion reaction, Surgery/procedure on the wrong patient or wrong body part, infant abduction or infant discharge to the wrong family Visitor Outcome :  Death; or   hospitalization of 3 or more. Staff Outcome :  * A death or hospitalization of 3 or more staff Equipment or facility : ** Damage equal to or more than $250,00  Fire  : Any fire that grows larger than an incipient Major Event( Rating = 3 ) ( Traditional FMEA Rating of 7 – Failure Causes a high degree of customer dissatisfaction.) Catastropphic Event ( Rating = 4 ) ( Traditional FMEA Rating of 10-Failure could cause death or injury)
82 Patient Outcome  –  ไม่บาดเจ็บ Visitor Outcome  –  ไม่ต้องได้รับการดูแลรักษาหรือปฏิเสธการรักษา Staff Outcome  –  บาดเจ็บเล็กน้อย ไม่ต้องหยุดงาน อุปกรณ์ / สิ่งอำนวยความสะดวก  – เกิดความเสียหายต่ำกว่า  10,000  บาท Patient Outcome  – Increase los  หรือต้องเพิ่ม  leve of cares  กับคนไข้  1  ถึง  2  คน Visitor Outcome  –  ต้องประเมินและให้การรักษากับคนไข้  1-2  คน Staff  Outcome  –  ต้องเสียค่ารักษาพยาบาล หยุดงานกับบุคคลากร  1-2  คน อุปกรณ์ / สิ่งอำนวยความสะดวก  – เกิดความเสียหายมูลค่ามากกว่า  10 , 000  บาท ถึง  10 0,000  บาท ไฟไหม้  – เกิดไฟไหม้ แต่ดับโดยเจ้าหน้าที่ได้ Minor  ( Rating = 1 ) FMEA  Rating = 1 Moderate  ( Rating = 2 ) FMEA  Rating = 4
ความถี่  ( FREQUENCY/ PROBABILITY  RATING ) Frequent  – Likely to occur immediately or within a  short period  (may  happen several times in one year)   เกิดหลายครั้งในระยะเวลา  1  ปี 83 Occasional  – Probably will occur (may happen several times in 1 to 2 years)  เกิด  2-3  ครั้งในระยะเวลา  2  ปี   Uncommon  – Possible to occur ( may happen sometime in 2 to 5 years)  เกิดบางครั้งในระยะเวลา  5  ปี Remote  – Unlikely to occur ( may happen sometime in 5 to 30 years)  โอกาสเกิดน้อยมากในระยะเวลา  30  ปี
HAZARD  SCORING  MATRIX Both the Severity Categories and the Probability Ratings are assigned values 1 through 4. Each Hazard Score is determined by multiplication of the Severity and Probability values. Severity Categories : Catastrophic = 4 Major  = 3 Moderate  = 2 Minor  = 1 Probability Ratings : Frequent  = 4 Occasional  = 3 Uncommon  = 2 Remote  = 1 84
HFMEA Hazard Scoring Matrix 85
HOW  TO  USE  THIS  MATRIX ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],86
การดักจับได้  ( DETECTABILITY ) เสมอ   1 87 น่าจะ   2 ไม่แน่ใจ   3 ไม่เคย   4 การดักจับได้ คะแนน
ข้อควรจำ 1.  ต้องช่วยกันระดมสมอง 88 2.  การคำนวณ  RATING  มีความสำคัญต่อการตัดสินใจความรุนแรงเร่งด่วน 3.  ถ้าไม่มีมติเอกฉันท์ควรใช้คะแนนที่สูงกว่า 4.  เวลาวิเคราะห์  ควรใช้เหตุการณ์ที่รุนแรงสุดที่อาจจะเกิดเสมอ
EXAMPLES  OF  DETECTABILITY ,[object Object],89 ,[object Object],[object Object]
STEP 5   จัดอันดับความสำคัญของข้อผิดพลาด  ( PRIORITIZE  FAILURE  MODES ) วิเคราะห์ และเลือกการตัดสินใจโดยดูจาก  FLOW 1.  ความเสี่ยง / ข้อผิดพลาดนั้นมีโอกาสเกิดและรุนแรงมากพอ โดยเราสามารถควบคุมได้  ?  ( e.g. Hazard Score of  8 or higher ) 2.  ข้อผิดพลาดนี้มี  SINGLE  POINT  WEAKNESS  ในกระบวนการ  ?  (  ทำให้ระบบล้ม หรือเกิด  ADVERSE EVENT )  ( CRITICALLY ) 3.  ระบบการควบคุมตรวจสอบที่มีอยู่สามารถชี้บ่งได้ก่อน 4.  ข้อผิดพลาดนี้ระบบตรวจสอบ สามารถรับประกันว่าจะดักจับได้แน่  ?  ( DETECTABILITY ) สู่การตัดสินใจลงมือ  และวัดผล หยุด NO Yes Yes Yes Yes NO NO NO 90
การตัดสินใจและลงมือปฏิบัติ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],91
ลงรายละเอียดในตารางแสดงรายการ 92 กดปิดนาฬิกาปลุก –  1 A
ประเมินและหาสาเหตุ ที่อาจก่อให้เกิดข้อผิดพลาด 93 กดปิดนาฬิกาปลุก –  1 A
HFMEA Hazard Scoring Matrix 94
HFMEA Worksheet, Steps 4B & 4C 95
HFMEA Worksheet, Step5 96
WORK  SHOP  I 1.  เขียน  Diagram  ตาม  Step 1  ถึง  Step 5 2.  ใช้เวลา  30  นาที พร้อม  Present   กลุ่มละ  10  นาที 97 แพทย์สั่งเจาะเลือดคนไข้หาค่า  PSA
98 HFMEA  PSA  Example
99 HFMEA  PSA  Example
100 HFMEA PSA Example
101 HFMEA PSA Example
102 HFMEA PSA Example
HFMEA PSA Example Step4B,C,D, Determine hazard score and list all the potential causes for each potential failure mode. 103
STEP 5   จัดอันดับความสำคัญของข้อผิดพลาด  ( PRIORITIZE FAILURE MODES ) วิเคราะห์ และเลือกการตัดสินใจโดยดูจาก  FLOW 1.  ความเสี่ยง / ข้อผิดพลาดนั้นมีโอกาสเกิดและรุนแรงมากพอ โดยเราสามารถควบคุมได้  ?  ( e.g. Hazard Score of  8 or higher ) 2.  ข้อผิดพลาดนี้มี  SINGLE  POINT  WEAKNESS  ในกระบวนการ  ?  (  ทำให้ระบบล้ม หรือเกิด  ADVERSE EVENT )  ( CRITICALLY ) 3.  ระบบการควบคุมตรวจสอบที่มีอยู่สามารถชี้บ่งได้ก่อน 4.  ข้อผิดพลาดนี้ระบบตรวจสอบ สามารถรับประกันว่าจะดักจับได้แน่  ?  ( DETECTABILITY ) สู่การตัดสินใจลงมือ  และวัดผล หยุด NO Yes Yes Yes Yes NO NO NO 104
HFMEA PSA Example Step4B,C,D, Determine hazard score and list all the potential causes for each potential failure mode. 105
106 HFMEA PSA Example
HFMEA  PSA  Example Report  Result – 3F 107
ตัวอย่างกระบวนการ การจ่ายยาเสพติด 108
1. Narcotic Drug Use Process Diagram Basic Steps Receive drugs from Pharmacy vendor Check drugs into pharmacy Dispense to patient care area Remove from stock one dose at a time as patients request medication Administer drug to patient Document drug administration and record waste 109
2. Narcotic Drug Use Process Number Basic Steps Receive drugs from Pharmacy vendor Check drugs into pharmacy Dispense to patient care area   (Ward) Remove from stock one dose at a time as patients request medication Administer drug to patient Document drug administration and record waste 1 3 2 4 5 6 110
4. Narcotic Drug Use Process  Diagram the Sub-Process Steps Receive request from Patient Care Area (Ward) Technician pulls drug from Narcotic vault/ cabinet Narcotic and request set out to be checked Pharmacist checks drug against request Technician assembles drug (s) Technician hand carries to the Patient Care Area 111
5. Narcotic Drug Use Process  Number the Sub- Process Steps Receive request from Patient care Area (Ward) Technician pulls drug from Narcotic vault/ cabinet Narcotic and request set out to be checked Pharmacist checks drug against request Technician assembles drug (s) Technician hand carries to the Patient Care Area 3A 3C 3B 3D 3E 3F 112
Technician hand carries to the Patient Care Ares 3A 3D 3E 3F 3C 3B Process Steps   ห้องยาปิด ใบ  Order  ว่างเปล่า เจ้าหน้าที่หยิบผิดจำนวน เจ้าหน้าที่ลืมจัดวาง คู่กันบนเคาน์เตอร์ ยาและใบสั่งจัดวาง รอตรวจสอบ ยาถูกหยิบไปที่อื่น ขณะรอรับ ยาตกแตก ไม่ได้รับใบสั่งยา เจ้าหน้าที่หยิบยาผิด เจ้าหน้าที่ไม่ได้หยิบยา เจ้าหน้าที่ทำให้ยา และใบสั่งปะปนกันหมด เจ้าหน้าที่ขโมยยา เจ้าหน้าที่ทำยา หรือใบสั่งหล่นหาย เภสัชไม่ได้ตรวจสอบ เภสัชตรวจ เฉพาะใบสั่ง เภสัชตรวจสอบ ไม่ถูกต้อง เจ้าหน้าที่ทำให้ยา  และใบสั่งปะปนกันหมด เจ้าหน้าที่หยิบใบสั่งยา ที่จัดเสร็จแล้ว เจ้าหน้าที่หยิบยา ไม่แยก Potential Failure Modes Technician pulls drug  from Narcotic vault/  cabinet Pharmacist checks  drug against request Receive request from  Patient care Area Technician  assembles drug (s) Narcotic Drug Use Process Brainstorm Failure Modes STEP 2  เขียนแผนผัง  หรือ  FLOW   ของกระบวนการนั้น 113
Technician hand carries to the Patient Care Ares 3A 3D 3E 3F 3C 3B Process Steps   ห้องยาปิด ใบ  Order  ว่างเปล่า เจ้าหน้าที่หยิบผิดจำนวน เจ้าหน้าที่ลืมจัดวาง คู่กันบนเคาน์เตอร์ ยาและใบสั่งจัดวาง รอตรวจสอบ ยาถูกหยิบไปที่อื่น ขณะรอรับ ยาตกแตก ไม่ได้รับใบสั่งยา เจ้าหน้าที่หยิบยาผิด เจ้าหน้าที่ไม่ได้หยิบยา เจ้าหน้าที่ทำให้ยา และใบสั่งปะปนกันหมด เจ้าหน้าที่ขโมยยา เจ้าหน้าที่ทำยา หรือใบสั่งหล่นหาย เภสัชไม่ได้ตรวจสอบ เภสัชตรวจ เฉพาะใบสั่ง เภสัชตรวจสอบ ไม่ถูกต้อง เจ้าหน้าที่ทำให้ยา  และใบสั่งปะปนกันหมด เจ้าหน้าที่หยิบใบสั่งยา ที่จัดเสร็จแล้ว เจ้าหน้าที่หยิบยา ไม่แยก Potential Failure Modes Technician pulls drug  from Narcotic vault/  cabinet Pharmacist checks  drug against request Receive request from  Patient care Area Technician  assembles drug (s) Narcotic Drug Use Process Number Failure Modes 1 1 1 1 1 1 2 2 2 2 2 2 3 3 3 3 3 3 STEP 2  เขียนแผนผัง  หรือ  FLOW   ของกระบวนการนั้น 114
Step 1 Step 2 Step 3 Select a high risk process & assemble the team Diagram the Process Brainstorm Potential Failure Modes STEP 3  ระดมสมองว่ามีอะไรบ้างที่อาจจะเป็นข้อผิดพลาดที่อาจจะ     เกิดขึ้นได้ และบอกด้วยว่า  ผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นที่เลวร้าย     สุดมีอะไรบ้าง   ( MODES & EFFECT) 115
ถ่ายข้อมูลสู่ตารางแสดงรายการ ,[object Object],[object Object],Hint  : be careful to keep the numbering Transfer the Failure Modes from the diagram to the spreadsheet 116 3 2 1 Failure Mode Number จนท .  จัดยาผิดจำนวน จนท .  ไม่ได้หยิบยา จนท .  หยิบยาผิด ผลกระทบร้ายแรง  ที่อาจเกิดขึ้นได้ สาเหตุที่อาจก่อความผิดพลาด จุดอ่อนที่สำคัญที่สุด  ? ข้อผิดพลาด ที่อาจเกิดขึ้นได้ Process Step Number 3B :  เจ้าหน้าที่ดึงยาเสพติดจากตู้เก็บยา
Transfer Failure Modes on to Spreadsheet 117 3 2 1 Failure Mode Number จนท .  จัดยาผิดจำนวน จนท .  ไม่ได้หยิบยา จนท .  หยิบยาผิด ผลกระทบร้ายแรง  ที่อาจเกิดขึ้นได้ สาเหตุที่อาจก่อความผิดพลาด จุดอ่อนที่สำคัญที่สุด  ? ข้อผิดพลาด ที่อาจเกิดขึ้นได้ Process Step Number 3B :  เจ้าหน้าที่ดึงยาเสพติดจากตู้เก็บยา
Evaluate if the failure modes are single point weaknesses Single Point Weakness : A step so critical that it’s failure will result in a system failure or adverse event ประเมินว่าข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นแต่ละรายการ  เป็น  SINGLE  POINT  WEAKNEES ?   118 3 2 1 Failure Mode Number N จนท .  จัดยาผิดจำนวน N จนท .  ไม่ได้หยิบยา N จนท .  หยิบยาผิด ผลกระทบร้ายแรง  ที่อาจเกิดขึ้นได้ สาเหตุที่อาจก่อความผิดพลาด จุดอ่อนที่สำคัญที่สุด  ? ข้อผิดพลาด ที่อาจเกิดขึ้นได้ Process Step Number 3B :  เจ้าหน้าที่ดึงยาเสพติดจากตู้เก็บยา
Evaluate the CAUSE (S) of the failure 119 Technician is distracted Storage location too proximal 3 2 1 Failure Mode Number Packages are in random order N จนท .  จัดยาผิดจำนวน Form is hand written and not very legible N จนท .  ไม่ได้หยิบยา Look Alike packaging N จนท .  หยิบยาผิด ผลกระทบร้ายแรง  ที่อาจเกิดขึ้นได้ สาเหตุที่อาจก่อความผิดพลาด จุดอ่อนที่สำคัญที่สุด  ? ข้อผิดพลาด ที่อาจเกิดขึ้นได้ Process Step Number 3B :  เจ้าหน้าที่ดึงยาเสพติดจากตู้เก็บยา
Evaluate  the  EFFECT (S) of  the  failure 120 Technician is distracted 3 2 1 Failure Mode Number packages are in random order Nursing unit is over or under stocked Form is hand written and not very legible N จนท .  จัดยาผิดจำนวน Nursing unit runs out of drug Storage location too proximal N จนท .  ไม่ได้หยิบยา Patient receives wrong drug Look alike packaging N จนท .  หยิบยาผิด ผลกระทบร้ายแรง  ที่อาจเกิดขึ้นได้ สาเหตุที่อาจก่อความผิดพลาด จุดอ่อนที่สำคัญที่สุด  ? ข้อผิดพลาด ที่อาจเกิดขึ้นได้ Process Step Number 3B :  เจ้าหน้าที่ดึงยาเสพติดจากตู้เก็บยา
Step 1 Step 3 Step 4 Step 2 Select a high risk process  & assemble  the team Diagram the process Brainstorm Potential Failure Modes Identify Causes of Failure Modes Step 5 จัดอันดับความสำคัญของข้อผิดพลาด  ( PRIORITIZE  FAILURE  MODES ) FMEA  PROCESS STEP -  5 121 Brainstorm Effects & Prioritize Failure Modes Calculate  Hazard Scores
STEP 5   จัดอันดับความสำคัญของข้อผิดพลาด  ( PRIORITIZE  FAILURE  MODES ) วิเคราะห์ และเลือกการตัดสินใจโดยดูจาก  FLOW 1.  ความเสี่ยง / ข้อผิดพลาดนั้นมีโอกาสเกิดและรุนแรงมากพอ โดยเราสามารถควบคุมได้  ?  ( e.g. Hazard Score of  8 or higher ) 2.  ข้อผิดพลาดนี้มี  SINGLE  POINT  WEAKNESS  ในกระบวนการ  ?  (  ทำให้ระบบล้ม หรือเกิด  ADVERSE EVENT )  ( CRITICALLY ) 3.  ระบบการควบคุมตรวจสอบที่มีอยู่สามารถชี้บ่งได้ก่อน 4.  ข้อผิดพลาดนี้ระบบตรวจสอบ สามารถรับประกันว่าจะดักจับได้แน่  ?  ( DETECTABILITY ) สู่การตัดสินใจลงมือ  และวัดผล หยุด NO Yes Yes Yes Yes NO NO NO 122
HFMEA Example Healthcare  FMEA  Worksheet  Log  onto  Laptop – 4A 123
HFMEA Example Healthcare  FMEA  Worksheet  Log  onto  Laptop – 4A 124
WORKSHOP  II 125 กลุ่มที่  1  และกลุ่มที่  3  ให้ทำ  Workshop  เรื่อง เมื่อแพทย์สั่งเจาะเลือดคนไข้หาค่า   ELECTROLYTES กลุ่มที่  2  ให้ทำ   Workshop   เมื่อแพทย์สั่งฉีดยา   Pethidine   กลุ่มที่  4  ให้ทำ   Workshop   วิเคราะห์เมื่อแพทย์สั่งจ่ายยา   Ranitidine     แต่เภสัชกรจ่าย   Rulid (Look Alike Sound Alike)
WORKSHOP  II 126 กลุ่มที่  5  และกลุ่มที่  6 วิเคราะห์กระบวนการจ่ายยาผิดพลาดในกรณี   Pt   นอก  ได้รับยา  ของผู้ป่วยคนอื่นไป

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Non invasive ventilation 24th oct 2014 final
Non invasive ventilation 24th oct 2014  finalNon invasive ventilation 24th oct 2014  final
Non invasive ventilation 24th oct 2014 finalArchana Ravi
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพPrakob Chantarakamnerd
 
drugs acting on respiratory system.&pathophysiology of respiratory sys.
drugs acting on respiratory system.&pathophysiology of respiratory sys.drugs acting on respiratory system.&pathophysiology of respiratory sys.
drugs acting on respiratory system.&pathophysiology of respiratory sys.Vicky Anthony
 
Asthma COPD Overlap (ACO)
Asthma COPD Overlap (ACO)Asthma COPD Overlap (ACO)
Asthma COPD Overlap (ACO)drmainuddin
 
Pathophysiology of acute respiratory failure
Pathophysiology of acute respiratory failurePathophysiology of acute respiratory failure
Pathophysiology of acute respiratory failuremeducationdotnet
 
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556Vorawut Wongumpornpinit
 
Chronic obstructive pulmonary disease (copd)
Chronic obstructive pulmonary disease (copd)Chronic obstructive pulmonary disease (copd)
Chronic obstructive pulmonary disease (copd)Rahil Dalal
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาดpronprom11
 
Adjectives คำคุณศัพท์
Adjectives คำคุณศัพท์Adjectives คำคุณศัพท์
Adjectives คำคุณศัพท์Aj Muu
 
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]Viam Manufacturing
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 

La actualidad más candente (17)

Non invasive ventilation 24th oct 2014 final
Non invasive ventilation 24th oct 2014  finalNon invasive ventilation 24th oct 2014  final
Non invasive ventilation 24th oct 2014 final
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
 
drugs acting on respiratory system.&pathophysiology of respiratory sys.
drugs acting on respiratory system.&pathophysiology of respiratory sys.drugs acting on respiratory system.&pathophysiology of respiratory sys.
drugs acting on respiratory system.&pathophysiology of respiratory sys.
 
Bronchial asthma
Bronchial asthmaBronchial asthma
Bronchial asthma
 
Asthma COPD Overlap (ACO)
Asthma COPD Overlap (ACO)Asthma COPD Overlap (ACO)
Asthma COPD Overlap (ACO)
 
Pathophysiology of acute respiratory failure
Pathophysiology of acute respiratory failurePathophysiology of acute respiratory failure
Pathophysiology of acute respiratory failure
 
5ส
5ส5ส
5ส
 
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
 
5 stamping and punching force
5  stamping and punching force5  stamping and punching force
5 stamping and punching force
 
Chronic obstructive pulmonary disease (copd)
Chronic obstructive pulmonary disease (copd)Chronic obstructive pulmonary disease (copd)
Chronic obstructive pulmonary disease (copd)
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาด
 
4. 4 ps
4. 4 ps4. 4 ps
4. 4 ps
 
Adjectives คำคุณศัพท์
Adjectives คำคุณศัพท์Adjectives คำคุณศัพท์
Adjectives คำคุณศัพท์
 
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
 

Destacado

Risk Management by using FMEA
Risk Management by using FMEARisk Management by using FMEA
Risk Management by using FMEANukool Thanuanram
 
Risk Management by using FMEA
Risk Management by using FMEARisk Management by using FMEA
Risk Management by using FMEANukool Thanuanram
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวSuradet Sriangkoon
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)Suradet Sriangkoon
 
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นวิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นFern's Phatchariwan
 
Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)Prachaya Sriswang
 
Spare parts control for maintenance purposes
Spare parts control for maintenance purposesSpare parts control for maintenance purposes
Spare parts control for maintenance purposesHimalaya Kanwar
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sriSuradet Sriangkoon
 
Spare Parts Management
Spare Parts ManagementSpare Parts Management
Spare Parts ManagementIEI GSC
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
Spare parts management
Spare parts management Spare parts management
Spare parts management Smita Sinha
 
FMEA 4th Edition for Beginer
FMEA 4th Edition for BeginerFMEA 4th Edition for Beginer
FMEA 4th Edition for BeginerNukool Thanuanram
 
Cuatris vs motos
Cuatris vs motosCuatris vs motos
Cuatris vs motosratalin159
 
Test automation using selenium - Marketing platform
Test automation using selenium - Marketing platformTest automation using selenium - Marketing platform
Test automation using selenium - Marketing platformExpedux Technologies
 
Irena africa 2030_r_emap_2015
Irena africa 2030_r_emap_2015Irena africa 2030_r_emap_2015
Irena africa 2030_r_emap_2015Dmitry Tseitlin
 

Destacado (20)

Risk Management by using FMEA
Risk Management by using FMEARisk Management by using FMEA
Risk Management by using FMEA
 
Risk Management by using FMEA
Risk Management by using FMEARisk Management by using FMEA
Risk Management by using FMEA
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
 
FMEA
FMEAFMEA
FMEA
 
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นวิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
 
Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)
 
So You Want to be a Hacker?
So You Want to be a Hacker?So You Want to be a Hacker?
So You Want to be a Hacker?
 
Spare parts control for maintenance purposes
Spare parts control for maintenance purposesSpare parts control for maintenance purposes
Spare parts control for maintenance purposes
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
Spare Parts Management
Spare Parts ManagementSpare Parts Management
Spare Parts Management
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
 
Spare parts management
Spare parts management Spare parts management
Spare parts management
 
APQP. 2nd Edition
APQP. 2nd EditionAPQP. 2nd Edition
APQP. 2nd Edition
 
FMEA 4th Edition for Beginer
FMEA 4th Edition for BeginerFMEA 4th Edition for Beginer
FMEA 4th Edition for Beginer
 
Cuatris vs motos
Cuatris vs motosCuatris vs motos
Cuatris vs motos
 
10a Promoció IWE/IWT
10a Promoció IWE/IWT 10a Promoció IWE/IWT
10a Promoció IWE/IWT
 
Test automation using selenium - Marketing platform
Test automation using selenium - Marketing platformTest automation using selenium - Marketing platform
Test automation using selenium - Marketing platform
 
Irena africa 2030_r_emap_2015
Irena africa 2030_r_emap_2015Irena africa 2030_r_emap_2015
Irena africa 2030_r_emap_2015
 

Similar a อบรมFmea 25สค49

ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAtaem
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55Nithimar Or
 
Early Warning System ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า : กรณศึกษาร้านยา อ.ดร.ภก.ลือ...
Early Warning System ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า :  กรณศึกษาร้านยา อ.ดร.ภก.ลือ...Early Warning System ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า :  กรณศึกษาร้านยา อ.ดร.ภก.ลือ...
Early Warning System ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า : กรณศึกษาร้านยา อ.ดร.ภก.ลือ...Utai Sukviwatsirikul
 
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติUtai Sukviwatsirikul
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3taem
 
การควบคุมคุณภาพแบบการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม
การควบคุมคุณภาพแบบการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วมการควบคุมคุณภาพแบบการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม
การควบคุมคุณภาพแบบการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วมNing Me-hey
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Lek Suthida
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Lek Suthida
 

Similar a อบรมFmea 25สค49 (15)

สายตาล้า
สายตาล้าสายตาล้า
สายตาล้า
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55
 
Early Warning System ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า : กรณศึกษาร้านยา อ.ดร.ภก.ลือ...
Early Warning System ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า :  กรณศึกษาร้านยา อ.ดร.ภก.ลือ...Early Warning System ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า :  กรณศึกษาร้านยา อ.ดร.ภก.ลือ...
Early Warning System ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า : กรณศึกษาร้านยา อ.ดร.ภก.ลือ...
 
H&f 2010
H&f 2010H&f 2010
H&f 2010
 
Lean present opd_2551
Lean present opd_2551Lean present opd_2551
Lean present opd_2551
 
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
 
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงานสาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Evidence-Based Medicine: Risk & Harm
Evidence-Based Medicine: Risk & HarmEvidence-Based Medicine: Risk & Harm
Evidence-Based Medicine: Risk & Harm
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
 
การควบคุมคุณภาพแบบการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม
การควบคุมคุณภาพแบบการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วมการควบคุมคุณภาพแบบการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม
การควบคุมคุณภาพแบบการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 

อบรมFmea 25สค49

  • 1. การอบรมวิชาการเรื่อง 1 โดย นพ . ยุทธนา สงวนศักดิ์โกศล ณ ห้องประชุม โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 9 วันที่ 25 สิงหาคม 2549 เวลา 12.30 – 18.00 น . FMEA
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6. ความยากและผลระยะยาว กลยุทธ์ในการลดความเสี่ยง วิธีปฏิบัติ ระดับความยากง่าย ประสิทธิผลระยะยาว ต่ำ - ฝึกอบรมซ้ำ / ปรึกษา - วิเคราะห์เพื่อวางกระบวนการใหม่ - ใช้เทคโนโลยีช่วย - Culture Change - การลงโทษ ง่าย ยาก สูง 6 FMEA
  • 7.
  • 8. ถ้าเราเลือกวิธีวิเคราะห์ที่ระบบ ระเบียบ นโยบาย และกระบวนการ จะก่อให้เกิดประโยชน์ คือ 1. ลดอุบัติการของความเสี่ยง 2. คนทำงานเริ่มเรียนรู้ และป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำ 3. โรงพยาบาลเราจะเริ่มบริหารความเสี่ยง แบบเชิงรุก และค้นหา ความเสี่ยงก่อนเกิดปัญหาใหญ่ที่ทำให้คนไข้เราทุพพลภาพ เสียชีวิต 8
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12. What is Failure Mode and Effect Analysis ( FMEA) 12
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17. 2. FEASIBLE RISK คือลดความเสี่ยงลงในระดับที่องค์กรทำได้ และคุ้มค่าทางธุรกิจพอ ? 3. COMPARATIVE RISK คือลดความเสี่ยงให้ได้ระดับเท่ากับธุรกิจ หรือการบริการในลักษณะเดียวกันกับองค์กรเรา เช่น ปลอดภัยเท่ากับสูบบุหรี่ 17
  • 18.
  • 19. 19 4. DE MINIMIS RISK คือลดความเสี่ยงต่ำสุดจนใกล้ศูนย์ เช่น SIX SIGMA หรือดีกว่า ? 5. ZERO RISK คือไม่ขอรับความเสี่ยงเลย เช่นการครอบครอง อาวุธนิวเคลียร์โรงงานผลิตไฟฟ้านิวเคลียร์
  • 20. FMEA มีส่วนช่วยธุรกิจโรงพยาบาลอย่างไร 1. เปลี่ยนแนวทางการบริหารจัดการเรื่องความเสี่ยงจาก เชิงรับ มาเป็น เชิงรุก 2. ลดการร้องเรียน และฟ้องร้อง 3. เพิ่มช่องทางการตลาดให้ลูกค้ารับรู้ ว่าจุฬารัตน์ตระหนักเรื่อง ผู้ป่วยปลอดภัย ( ตามวิสัยทัศน์ของเรา ) 4. เปลี่ยนหน่วยงานบริหารความเสี่ยงมาเป็น หน่วยงานทำกำไร ให้โรงพยาบาล 20
  • 21.
  • 22. 1. เลือกกระบวนการที่มีความเสี่ยงสูงของแผนก / หน่วย มาทำการวิเคราะห์ 2. ใช้ Flowchart ในการอธิบายขั้นตอนของกระบวนการที่ทีมงานเลือก 3. ชี้บ่งถึงจุดที่จะเกิดข้อผิดพลาด หรืออาจจะทำผิดได้ในกระบวนการนั้น ทุกๆ จุด ( Failure Modes) 4. ชี้บ่งผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ (Effects ) อันเนื่องมาจากทุกข้อผิดพลาดที่เกิดในกระบวนการดูแลผู้ป่วยและผลกระทบนั้นรุนแรงมากน้อยขนาดไหน ( ทุพพลภาพ / เสียชิวิต อย่าเข้าข้างตนเอง ) 22
  • 23. 5. จัดลำดับความสำคัญของความรุนแรงจากข้อผิดพลาดต่างๆ ที่วิเคราะห์ ( โดยอาศัย Decision Tree) 6. ถามว่า “ ทำไม ” “ ไม่ใช่ ” “ ใคร ” 7. ระดมสมองทีมงานในการออกแบบปรับกระบวนการ หรือ ระบบ / ระเบียบ / นโยบายใหม่ เพื่อลดความรุนแรงที่อาจเกิดกับชีวิตผู้ป่วยของเรา 8. ทดสอบและลงมือทำตามกระบวนการใหม่ 9. ติดตาม ทวนสอบ วัดผล ความมีประสิทธิผลของกระบวนใหม่ 23
  • 24. STEP1 คัดเลือกกระบวนการ และจัดตั้งทีมงานดูแล โดยเฉพาะ STEP2 เขียนแผนผัง หรือ FLOW ของกระบวนการนั้น STEP3 ระดมสมอง ว่ามีอะไรบ้างที่อาจจะเป็นข้อผิดพลาด ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ และบอกด้วยว่า ผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นที่เลวร้ายสุดมีอะไรบ้าง ( MODES & EFFECT) STEP4 ชี้บ่งสาเหตุของข้อผิดพลาด ( CAUSES OF FAILURE MODES ) 24 FMEA STEP
  • 25. STEP5 จัดอันดับความสำคัญของข้อผิดพลาด ( PRIORITIZE FAILURE MODES ) STEP6 ออกแบบแผนผังกระบวนการใหม่ ( REDESIGN THE PROCESSES) STEP8 ลงมือปฏิบัติ และทบทวน ทวนสอบอย่างใกล้ชิด STEP7 วิเคราะห์ และทดสอบกระบวนการใหม่ 25
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29. 2. ซับซ้อนมาก เช่นมีขั้นตอนการทำงานเป็นสิบๆ ขั้นตอนย่อมมีโอกาสสูง ในการผิดพลาด 3. ไร้ซึ่งมาตรฐานในการปฏิบัติงาน คือทำตามความต้องการ มีการตัดสินใจเอง ฉะนั้นการมี Flow-Chart , CPG , Protocol และ Clinical Pathway ก็เพื่อลดความแตกต่างในกระบวนการการดูแลรักษาคนไข้ 29 FMEA
  • 30. 4. ต้องมีการปรับเปลี่ยนตามการเปลี่ยนของขั้นตอนที่เกิดก่อน = Tight Coupling = ฉันต้องเปลี่ยนตามคุณ และอาจต้องสำรวจดูว่าขั้นตอนอื่นๆ ต้องเปลี่ยนด้วย หรือไม่ ผู้ปฏิบัติงานจะไม่ทราบว่ามีความผิดพลาดเกิดขึ้นก่อนหน้านี้แล้ว จึงเกิดความผิดพลาดซ้ำ ๆ ตามมาเป็นกระบวน ทำให้ผู้ปฏิบัติเข้าใจ และเปลี่ยนแปลงยาก 30 FMEA
  • 31. 5. ต้องอาศัยคนที่มีความสามารถเข้าจัดการ เช่น แพทย์สั่งยาเป็นตัวย่อ เภสัช พยาบาลที่คล่อง และคุ้นเคยสามารถบริหารยาได้ถูกต้อง โดยคนไข้ปลอดภัย 6. ต้องทำงานในเวลาที่จำกัด / เร่งรีบ แต่ในทางตรงกันข้ามขั้นตอนที่รอนาน ได้ก็เกิดผิดพลาดได้เนื่องจากลืม ไม่สนใจ หรือถูกดึงความสนใจง่าย 31 FMEA
  • 32.
  • 33.
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42. ข้อควรจำ 1. เมื่อทีมเขียนแผนผังแล้ว จะพบว่าหัวข้อที่ดูอาจใหญ่ไป 2. ทีมต้องตกลงใจคัดเลือกให้แคบลง ในส่วนที่พร้อมจัดการได้ แต่แผนผังใหญ่ก็ยังมีประโยชน์ เพื่อดูความสัมพันธ์ระหว่าง หน่วยงานใน กระบวนการ ( ต้องระดมสมองให้ดี ) 3. เมื่อลงมือเขียน คุณอาจจะสังเกตุได้ว่า แผนผังอาจจะซับซ้อนกว่าตัวอย่างนี้ ( ดูอย่างผังองค์กรเราซิ ) STEP 2 เขียนแผนผัง หรือ FLOW ของกระบวนการนั้น 42
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 46.
  • 47.
  • 48.
  • 49.
  • 50. 50 Fishbone Diagram ( 5M1P วิเคราะห์ )
  • 51.
  • 52.
  • 53.
  • 54.
  • 55. ขั้นตอนขณะระดมสมอง 1. กำหนดหัวข้อที่ต้องการระดมสมองให้ชัดเจน ก่อนเริ่มเสมอ 55 - ทุกคนเข้าใจตรงกัน และต้องอยู่ใน ขั้นตอนนั้นเท่านั้น ( มิใช่ทุกขั้นตอนของกระบวนการ ) 2. ใช้เวลาให้เหมาะสมต่อแต่ละปัญหา 3. ต้องมีการกำหนดเวลา เพื่อแต่ละคนจะได้แสดงความคิดเห็นได้ครบ 4. จด หรือบันทึกข้อคิดเห็นบน Flipchart / กระดาน / คอมพิวเตอร์ ตามจริง ของเจ้าของความคิด ( ต้องมีประธาน + กริยา ) 5. ทำความคิดเห็นนั้นให้กระจ่าง และเข้าใจตรงกันในทีม ขั้นตอนนี้ทำตอนทุกคน ได้เสนอความคิดเห็นหมดแล้วเท่านั้น
  • 56.
  • 57.
  • 58.
  • 59.
  • 60.
  • 61.
  • 62. Step 1 Step 2 Step 3 Select a high risk process & assemble the team Brainstorm Potential Failure Modes Step 4 Identify Causes of Failure Modes FMEA STEP4 ชี้บ่งสาเหตุของข้อผิดพลาด ( CAUSES OF FAILURE MODES ) Diagram the Process 62
  • 63.
  • 64.
  • 65.
  • 66.
  • 67.
  • 68.
  • 69.
  • 70.
  • 71. PROACTIVE : HFMEA : ความปลอดภัย 9 ประการ 71
  • 72.
  • 73.
  • 74. EXAMPLE Step 3C. If process is complex, choose area to focus on. ตื่นนอน แต่งตัว ออกรถ ขับรถ จอดรถ เดินเข้าที่ทำงาน Scope - จุดเน้น - ให้ตัวเลขกับทุกขั้นตอนของกระบวนการ - คัดเลือกกระบวนการย่อยที่ต้องการเน้น ( SCOPE ) - ลงรายละเอียดในกระบวนการย่อย และให้หมายเลขกำกับ 1 2 3 4 5 6 74
  • 75. EXAMPLE Step 3D. If necessary, list sub – process steps and consecutively number. ตื่นนอน แต่งตัว ออกรถ ขับรถ จอดรถ เดินเข้าที่ทำงาน 1 A กดปิดนาฬิกาปลุก 1 B กดปิดนาฬิกาปลุกอีกครั้ง 1 C ลุกจากเตียง 1 D หารองเท้าแตะเพื่อใส่เดิน 2 A ชงกาแฟ 2 B อาบน้ำ 2 C ใส่เสื้อผ้า 2 D ใส่รองเท้าทำงาน 3 A หากุญแจรถ 3 B หากระเป๋าเงิน 3 C หยิบถ้วยกาแฟ 3 D ออกรถ จุดเน้น 4 A วางแก้วกาแฟ 4 C เปิดวิทยุฟัง 4 B วางกระเป๋าเอกสารบนเบาะนั่ง 4 D เลือกเส้น ทางรถ 5 A หาที่จอดรถ 6A 5 B 5 C 5 D 6B 6C 6D 1 2 3 4 5 6 75
  • 76. ลงรายละเอียด ข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดได้ Step 4A. List all failure modes. 1 A. กดปิดนาฬิกา ปลุก 1 B. กดปิดนาฬิกาปลุกอีกครั้ง 1 C. ลุกจากเตียง 1 D. หารองเท้าแตะเพื่อใส่เดิน 76 1 A (1) ไม่ได้ตั้งนาฬิกาปลุก 1 A (3) นาฬิกาปลุกเสีย 1 A (2) ไม่ได้เสียบปลั๊กนาฬิกาปลุก
  • 77.
  • 78.
  • 79. Step 1 Step 3 Step 4 Step 2 Select a high risk process & assemble the team Diagram the process Brainstorm Potential Failure Modes Identify Causes of Failure Modes Step 5 Brainstorm Effects & Prioritize Failure Modes Calculate Hazard Scores จัดอันดับความสำคัญของข้อผิดพลาด ( PRIORITIZE FAILURE MODES ) FMEA PROCESS STEP - 5 79
  • 80.
  • 81. ความรุนแรง ( SEVERITY RATING ) 81 Patient Outcome : Permanent lessening of bodily functioning (sensory, motor, physiologic, or intellectual), disfigurement, surgical intervention required, increased length of stay for 3 or more patients, increased level of care for 3 or more patients Visitor Outcome : Hospitalization of 1 or 2 visitors Staff Outcome : Hospitalization of 1 or 2 staff or 3 or more staff experiencing lost time or restricted duty injuries or illnesses Equipment or facility : ** Damage equal to or more than $100,00 Fire : Not Applicable-See Moderate and Catastrophic Patient Outcome : Death or major permanent loss of function ( sensory,motor, physiologic, or intellectual), suicide, rape, hemolytic transfusion reaction, Surgery/procedure on the wrong patient or wrong body part, infant abduction or infant discharge to the wrong family Visitor Outcome : Death; or hospitalization of 3 or more. Staff Outcome : * A death or hospitalization of 3 or more staff Equipment or facility : ** Damage equal to or more than $250,00 Fire : Any fire that grows larger than an incipient Major Event( Rating = 3 ) ( Traditional FMEA Rating of 7 – Failure Causes a high degree of customer dissatisfaction.) Catastropphic Event ( Rating = 4 ) ( Traditional FMEA Rating of 10-Failure could cause death or injury)
  • 82. 82 Patient Outcome – ไม่บาดเจ็บ Visitor Outcome – ไม่ต้องได้รับการดูแลรักษาหรือปฏิเสธการรักษา Staff Outcome – บาดเจ็บเล็กน้อย ไม่ต้องหยุดงาน อุปกรณ์ / สิ่งอำนวยความสะดวก – เกิดความเสียหายต่ำกว่า 10,000 บาท Patient Outcome – Increase los หรือต้องเพิ่ม leve of cares กับคนไข้ 1 ถึง 2 คน Visitor Outcome – ต้องประเมินและให้การรักษากับคนไข้ 1-2 คน Staff Outcome – ต้องเสียค่ารักษาพยาบาล หยุดงานกับบุคคลากร 1-2 คน อุปกรณ์ / สิ่งอำนวยความสะดวก – เกิดความเสียหายมูลค่ามากกว่า 10 , 000 บาท ถึง 10 0,000 บาท ไฟไหม้ – เกิดไฟไหม้ แต่ดับโดยเจ้าหน้าที่ได้ Minor ( Rating = 1 ) FMEA Rating = 1 Moderate ( Rating = 2 ) FMEA Rating = 4
  • 83. ความถี่ ( FREQUENCY/ PROBABILITY RATING ) Frequent – Likely to occur immediately or within a short period (may happen several times in one year) เกิดหลายครั้งในระยะเวลา 1 ปี 83 Occasional – Probably will occur (may happen several times in 1 to 2 years) เกิด 2-3 ครั้งในระยะเวลา 2 ปี Uncommon – Possible to occur ( may happen sometime in 2 to 5 years) เกิดบางครั้งในระยะเวลา 5 ปี Remote – Unlikely to occur ( may happen sometime in 5 to 30 years) โอกาสเกิดน้อยมากในระยะเวลา 30 ปี
  • 84. HAZARD SCORING MATRIX Both the Severity Categories and the Probability Ratings are assigned values 1 through 4. Each Hazard Score is determined by multiplication of the Severity and Probability values. Severity Categories : Catastrophic = 4 Major = 3 Moderate = 2 Minor = 1 Probability Ratings : Frequent = 4 Occasional = 3 Uncommon = 2 Remote = 1 84
  • 85. HFMEA Hazard Scoring Matrix 85
  • 86.
  • 87. การดักจับได้ ( DETECTABILITY ) เสมอ 1 87 น่าจะ 2 ไม่แน่ใจ 3 ไม่เคย 4 การดักจับได้ คะแนน
  • 88. ข้อควรจำ 1. ต้องช่วยกันระดมสมอง 88 2. การคำนวณ RATING มีความสำคัญต่อการตัดสินใจความรุนแรงเร่งด่วน 3. ถ้าไม่มีมติเอกฉันท์ควรใช้คะแนนที่สูงกว่า 4. เวลาวิเคราะห์ ควรใช้เหตุการณ์ที่รุนแรงสุดที่อาจจะเกิดเสมอ
  • 89.
  • 90. STEP 5 จัดอันดับความสำคัญของข้อผิดพลาด ( PRIORITIZE FAILURE MODES ) วิเคราะห์ และเลือกการตัดสินใจโดยดูจาก FLOW 1. ความเสี่ยง / ข้อผิดพลาดนั้นมีโอกาสเกิดและรุนแรงมากพอ โดยเราสามารถควบคุมได้ ? ( e.g. Hazard Score of 8 or higher ) 2. ข้อผิดพลาดนี้มี SINGLE POINT WEAKNESS ในกระบวนการ ? ( ทำให้ระบบล้ม หรือเกิด ADVERSE EVENT ) ( CRITICALLY ) 3. ระบบการควบคุมตรวจสอบที่มีอยู่สามารถชี้บ่งได้ก่อน 4. ข้อผิดพลาดนี้ระบบตรวจสอบ สามารถรับประกันว่าจะดักจับได้แน่ ? ( DETECTABILITY ) สู่การตัดสินใจลงมือ และวัดผล หยุด NO Yes Yes Yes Yes NO NO NO 90
  • 91.
  • 94. HFMEA Hazard Scoring Matrix 94
  • 97. WORK SHOP I 1. เขียน Diagram ตาม Step 1 ถึง Step 5 2. ใช้เวลา 30 นาที พร้อม Present กลุ่มละ 10 นาที 97 แพทย์สั่งเจาะเลือดคนไข้หาค่า PSA
  • 98. 98 HFMEA PSA Example
  • 99. 99 HFMEA PSA Example
  • 100. 100 HFMEA PSA Example
  • 101. 101 HFMEA PSA Example
  • 102. 102 HFMEA PSA Example
  • 103. HFMEA PSA Example Step4B,C,D, Determine hazard score and list all the potential causes for each potential failure mode. 103
  • 104. STEP 5 จัดอันดับความสำคัญของข้อผิดพลาด ( PRIORITIZE FAILURE MODES ) วิเคราะห์ และเลือกการตัดสินใจโดยดูจาก FLOW 1. ความเสี่ยง / ข้อผิดพลาดนั้นมีโอกาสเกิดและรุนแรงมากพอ โดยเราสามารถควบคุมได้ ? ( e.g. Hazard Score of 8 or higher ) 2. ข้อผิดพลาดนี้มี SINGLE POINT WEAKNESS ในกระบวนการ ? ( ทำให้ระบบล้ม หรือเกิด ADVERSE EVENT ) ( CRITICALLY ) 3. ระบบการควบคุมตรวจสอบที่มีอยู่สามารถชี้บ่งได้ก่อน 4. ข้อผิดพลาดนี้ระบบตรวจสอบ สามารถรับประกันว่าจะดักจับได้แน่ ? ( DETECTABILITY ) สู่การตัดสินใจลงมือ และวัดผล หยุด NO Yes Yes Yes Yes NO NO NO 104
  • 105. HFMEA PSA Example Step4B,C,D, Determine hazard score and list all the potential causes for each potential failure mode. 105
  • 106. 106 HFMEA PSA Example
  • 107. HFMEA PSA Example Report Result – 3F 107
  • 109. 1. Narcotic Drug Use Process Diagram Basic Steps Receive drugs from Pharmacy vendor Check drugs into pharmacy Dispense to patient care area Remove from stock one dose at a time as patients request medication Administer drug to patient Document drug administration and record waste 109
  • 110. 2. Narcotic Drug Use Process Number Basic Steps Receive drugs from Pharmacy vendor Check drugs into pharmacy Dispense to patient care area (Ward) Remove from stock one dose at a time as patients request medication Administer drug to patient Document drug administration and record waste 1 3 2 4 5 6 110
  • 111. 4. Narcotic Drug Use Process Diagram the Sub-Process Steps Receive request from Patient Care Area (Ward) Technician pulls drug from Narcotic vault/ cabinet Narcotic and request set out to be checked Pharmacist checks drug against request Technician assembles drug (s) Technician hand carries to the Patient Care Area 111
  • 112. 5. Narcotic Drug Use Process Number the Sub- Process Steps Receive request from Patient care Area (Ward) Technician pulls drug from Narcotic vault/ cabinet Narcotic and request set out to be checked Pharmacist checks drug against request Technician assembles drug (s) Technician hand carries to the Patient Care Area 3A 3C 3B 3D 3E 3F 112
  • 113. Technician hand carries to the Patient Care Ares 3A 3D 3E 3F 3C 3B Process Steps ห้องยาปิด ใบ Order ว่างเปล่า เจ้าหน้าที่หยิบผิดจำนวน เจ้าหน้าที่ลืมจัดวาง คู่กันบนเคาน์เตอร์ ยาและใบสั่งจัดวาง รอตรวจสอบ ยาถูกหยิบไปที่อื่น ขณะรอรับ ยาตกแตก ไม่ได้รับใบสั่งยา เจ้าหน้าที่หยิบยาผิด เจ้าหน้าที่ไม่ได้หยิบยา เจ้าหน้าที่ทำให้ยา และใบสั่งปะปนกันหมด เจ้าหน้าที่ขโมยยา เจ้าหน้าที่ทำยา หรือใบสั่งหล่นหาย เภสัชไม่ได้ตรวจสอบ เภสัชตรวจ เฉพาะใบสั่ง เภสัชตรวจสอบ ไม่ถูกต้อง เจ้าหน้าที่ทำให้ยา และใบสั่งปะปนกันหมด เจ้าหน้าที่หยิบใบสั่งยา ที่จัดเสร็จแล้ว เจ้าหน้าที่หยิบยา ไม่แยก Potential Failure Modes Technician pulls drug from Narcotic vault/ cabinet Pharmacist checks drug against request Receive request from Patient care Area Technician assembles drug (s) Narcotic Drug Use Process Brainstorm Failure Modes STEP 2 เขียนแผนผัง หรือ FLOW ของกระบวนการนั้น 113
  • 114. Technician hand carries to the Patient Care Ares 3A 3D 3E 3F 3C 3B Process Steps ห้องยาปิด ใบ Order ว่างเปล่า เจ้าหน้าที่หยิบผิดจำนวน เจ้าหน้าที่ลืมจัดวาง คู่กันบนเคาน์เตอร์ ยาและใบสั่งจัดวาง รอตรวจสอบ ยาถูกหยิบไปที่อื่น ขณะรอรับ ยาตกแตก ไม่ได้รับใบสั่งยา เจ้าหน้าที่หยิบยาผิด เจ้าหน้าที่ไม่ได้หยิบยา เจ้าหน้าที่ทำให้ยา และใบสั่งปะปนกันหมด เจ้าหน้าที่ขโมยยา เจ้าหน้าที่ทำยา หรือใบสั่งหล่นหาย เภสัชไม่ได้ตรวจสอบ เภสัชตรวจ เฉพาะใบสั่ง เภสัชตรวจสอบ ไม่ถูกต้อง เจ้าหน้าที่ทำให้ยา และใบสั่งปะปนกันหมด เจ้าหน้าที่หยิบใบสั่งยา ที่จัดเสร็จแล้ว เจ้าหน้าที่หยิบยา ไม่แยก Potential Failure Modes Technician pulls drug from Narcotic vault/ cabinet Pharmacist checks drug against request Receive request from Patient care Area Technician assembles drug (s) Narcotic Drug Use Process Number Failure Modes 1 1 1 1 1 1 2 2 2 2 2 2 3 3 3 3 3 3 STEP 2 เขียนแผนผัง หรือ FLOW ของกระบวนการนั้น 114
  • 115. Step 1 Step 2 Step 3 Select a high risk process & assemble the team Diagram the Process Brainstorm Potential Failure Modes STEP 3 ระดมสมองว่ามีอะไรบ้างที่อาจจะเป็นข้อผิดพลาดที่อาจจะ เกิดขึ้นได้ และบอกด้วยว่า ผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นที่เลวร้าย สุดมีอะไรบ้าง ( MODES & EFFECT) 115
  • 116.
  • 117. Transfer Failure Modes on to Spreadsheet 117 3 2 1 Failure Mode Number จนท . จัดยาผิดจำนวน จนท . ไม่ได้หยิบยา จนท . หยิบยาผิด ผลกระทบร้ายแรง ที่อาจเกิดขึ้นได้ สาเหตุที่อาจก่อความผิดพลาด จุดอ่อนที่สำคัญที่สุด ? ข้อผิดพลาด ที่อาจเกิดขึ้นได้ Process Step Number 3B : เจ้าหน้าที่ดึงยาเสพติดจากตู้เก็บยา
  • 118. Evaluate if the failure modes are single point weaknesses Single Point Weakness : A step so critical that it’s failure will result in a system failure or adverse event ประเมินว่าข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นแต่ละรายการ เป็น SINGLE POINT WEAKNEES ? 118 3 2 1 Failure Mode Number N จนท . จัดยาผิดจำนวน N จนท . ไม่ได้หยิบยา N จนท . หยิบยาผิด ผลกระทบร้ายแรง ที่อาจเกิดขึ้นได้ สาเหตุที่อาจก่อความผิดพลาด จุดอ่อนที่สำคัญที่สุด ? ข้อผิดพลาด ที่อาจเกิดขึ้นได้ Process Step Number 3B : เจ้าหน้าที่ดึงยาเสพติดจากตู้เก็บยา
  • 119. Evaluate the CAUSE (S) of the failure 119 Technician is distracted Storage location too proximal 3 2 1 Failure Mode Number Packages are in random order N จนท . จัดยาผิดจำนวน Form is hand written and not very legible N จนท . ไม่ได้หยิบยา Look Alike packaging N จนท . หยิบยาผิด ผลกระทบร้ายแรง ที่อาจเกิดขึ้นได้ สาเหตุที่อาจก่อความผิดพลาด จุดอ่อนที่สำคัญที่สุด ? ข้อผิดพลาด ที่อาจเกิดขึ้นได้ Process Step Number 3B : เจ้าหน้าที่ดึงยาเสพติดจากตู้เก็บยา
  • 120. Evaluate the EFFECT (S) of the failure 120 Technician is distracted 3 2 1 Failure Mode Number packages are in random order Nursing unit is over or under stocked Form is hand written and not very legible N จนท . จัดยาผิดจำนวน Nursing unit runs out of drug Storage location too proximal N จนท . ไม่ได้หยิบยา Patient receives wrong drug Look alike packaging N จนท . หยิบยาผิด ผลกระทบร้ายแรง ที่อาจเกิดขึ้นได้ สาเหตุที่อาจก่อความผิดพลาด จุดอ่อนที่สำคัญที่สุด ? ข้อผิดพลาด ที่อาจเกิดขึ้นได้ Process Step Number 3B : เจ้าหน้าที่ดึงยาเสพติดจากตู้เก็บยา
  • 121. Step 1 Step 3 Step 4 Step 2 Select a high risk process & assemble the team Diagram the process Brainstorm Potential Failure Modes Identify Causes of Failure Modes Step 5 จัดอันดับความสำคัญของข้อผิดพลาด ( PRIORITIZE FAILURE MODES ) FMEA PROCESS STEP - 5 121 Brainstorm Effects & Prioritize Failure Modes Calculate Hazard Scores
  • 122. STEP 5 จัดอันดับความสำคัญของข้อผิดพลาด ( PRIORITIZE FAILURE MODES ) วิเคราะห์ และเลือกการตัดสินใจโดยดูจาก FLOW 1. ความเสี่ยง / ข้อผิดพลาดนั้นมีโอกาสเกิดและรุนแรงมากพอ โดยเราสามารถควบคุมได้ ? ( e.g. Hazard Score of 8 or higher ) 2. ข้อผิดพลาดนี้มี SINGLE POINT WEAKNESS ในกระบวนการ ? ( ทำให้ระบบล้ม หรือเกิด ADVERSE EVENT ) ( CRITICALLY ) 3. ระบบการควบคุมตรวจสอบที่มีอยู่สามารถชี้บ่งได้ก่อน 4. ข้อผิดพลาดนี้ระบบตรวจสอบ สามารถรับประกันว่าจะดักจับได้แน่ ? ( DETECTABILITY ) สู่การตัดสินใจลงมือ และวัดผล หยุด NO Yes Yes Yes Yes NO NO NO 122
  • 123. HFMEA Example Healthcare FMEA Worksheet Log onto Laptop – 4A 123
  • 124. HFMEA Example Healthcare FMEA Worksheet Log onto Laptop – 4A 124
  • 125. WORKSHOP II 125 กลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 3 ให้ทำ Workshop เรื่อง เมื่อแพทย์สั่งเจาะเลือดคนไข้หาค่า ELECTROLYTES กลุ่มที่ 2 ให้ทำ Workshop เมื่อแพทย์สั่งฉีดยา Pethidine กลุ่มที่ 4 ให้ทำ Workshop วิเคราะห์เมื่อแพทย์สั่งจ่ายยา Ranitidine แต่เภสัชกรจ่าย Rulid (Look Alike Sound Alike)
  • 126. WORKSHOP II 126 กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 6 วิเคราะห์กระบวนการจ่ายยาผิดพลาดในกรณี Pt นอก ได้รับยา ของผู้ป่วยคนอื่นไป