SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 8
Descargar para leer sin conexión
มาตรการป้องกันโรคติดต่อควบคุมโรคติดต่อภายในสถานศึกษา
ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก
มาตรการป้องกันโรคติดต่อควบคุมโรคติดต่อภายในสถานศึกษา
ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก
********************************
เนื่องจากในปัจจุบันพบว่ามีการระบาดของโรคติดต่อหลายชนิดในหมู่นักเรียนและสถานการณ์ยังมี
แนวโน้มที่สูงขึ้น ประกอบกับเป็นช่วงฤดูฝนทาให้มีการแพร่กระจายของเชื้อโรคต่าง ๆ ได้ง่าย อาทิ โรคมือ เท้า
ปาก, ไข้หวัดใหญ่, ไข้เลือดออก เป็นต้น ซึ่งสถานศึกษาเป็นแหล่งที่มีความเสี่ยงสูงในการแพร่เชื้อ อาจทาให้เกิด
การระบาดในกลุ่มนักเรียน อาจารย์ และบุคลากรในโรงเรียนได้อย่างรวดเร็ว เพื่อเตรียมความพร้อมในการป้องกัน
และลดผลกระทบการแพร่ระบาดของเชื้อโรค ทางศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธรประจาจังหวัดนครนายกจึง
ได้มี มาตรการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรค ดังนี้
1. มีการตรวจคัดกรองนักเรียนทุกวัน
ท่าที่ ๑ ยื่นมือออกไปข้างหน้าให้สุดแขนทั้งสองข้าง คว่ามือ กางนิ้วทุกนิ้ว
ท่าที่ ๒ ต่อเนื่องจากท่าที่ 1 คือ พลิกมือหงายขึ้น กางนิ้วทุกนิ้ว
ท่าที่ ๓ งอแขน พับข้อศอก ใช้นิ้วแตะเปลือกตาล่างเบาๆ ดึงเปลือกตาล่างพร้อมกับเหลือกตา
ขึ้นและลง แล้วกรอกตาไปมาทั้งด้านซ้ายและด้านขวา
ท่าที่ ๔ ใช้มือทั้งสองข้างดึงคอเสื้อให้กว้าง ภายหลังที่ปลดกระดุมหน้าอกเสื้อแล้ว หมุนตัวซ้ายและ
ขวาเล็กน้อย เพื่อให้เห็นบริเวณคอโดยรอบ ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง
ท่าที่ ๕ นักเรียนหญิงใช้มือขวาเปิดผมไปทัดไว้ ด้านหลังหูขวาหันหน้าไปทางซ้าย
ส่วนนักเรียนชายหันหน้าไปด้านซ้ายเท่านั้น
ท่าที่ ๖ ต่อเนื่องจากท่าที่ 5 นักเรียนหญิงใช้มือซ้ายเปิดผมไปทัดไว้ด้านหลังหูซ้ายหันหน้าไปทางขวา
ส่วนนักเรียนชายหันหน้าไปด้านขวาเท่านั้น
ท่าที่ ๗ กัดฟันและยิ้มกว้าง ให้เห็นเหงือกเหนือฟันบน และฟันล่างให้เต็มที่
ท่าที่ ๘ อ้าปากกว้าง แลบลิ้นยาว ร้องออกเสียง “อา” พร้อมทั้งเอนศีรษะไปข้างหลังเล็กน้อย
ท่าที่ ๙ นักเรียนหญิง ให้แยกเท้าทั้ง 2 ข้าง ห่างกัน 1 ฟุต ใช้มือทั้ง 2 ข้างจับกระโปรง ดึงขึ้นเหนือ
เข่าทั้ง 2 ข้าง นักเรียนชายแยกเท้าทั้ง 2 ข้างห่างกัน 1 ฟุต
ท่าที่ ๑๐ ต่อเนื่องจากท่าที่ 9 ทั้งนักเรียนหญิงและชาย กลับหลังหัน (ผู้ตรวจ สังเกตหลัง แล้วบอก
ให้เดินไปข้างหน้า) แล้วเดินกลับหันหน้าเข้าหาผู้ตรวจ
หากพบนักเรียนที่มีอาการป่วยที่มีความเสี่ยงดังต่อไปนี้ จะแนะนา ให้ไปพบแพทย์
โดยจะแยกนักเรียนและติดต่อให้ผู้ปกครองมารับกลับที่ห้องกายภาพบาบัด
1.1 โรคมือ เท้า ปาก จะทาการตรวจดูแผลในปากเป็นหลัก อาจพบหรือไม่พบตุ่มน้าที่ มือ หรือเท้า
ก็ได้ มีไข้
1.2 โรคไข้หวัดใหญ่ จะทาการตรวจวัดไข้ มีอาการปวดศีรษะ ไอ เจ็บ คอ คอแดง ปวดเมื่อยตามตัว
๑.๓ โรคไข้เลือดออก จะทาการตรวจวัดไข้ มีอาการปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว ปวดท้อง คลื่นไส้
อาเจียน มีจุดแดงขึ้นตามตัว แขน ขา
๒. มีการทาความสะอาดสภาพแวดล้อมในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัด
นครนายก เช่น พื้นห้องเรียน พื้นผิวที่นักเรียนสัมผัสบ่อย ๆ เช่น โต๊ะ ลูกบิดประตูราวบันได ห้องน้า
ของเล่น ด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ และในกรณีที่พบนักเรียนป่วยด้วยโรคไข้หวัดใหญ่ หรือโรค มือ เท้า ปาก
จะดาเนินการพ่นน้ายาฆ่าเชื้อในห้องเรียน ทันที พร้อมกับเฝ้าระวังและคัดกรองนักเรียนห้องนั้น ๆ ทุกวัน
จนกว่าจะครบ 7 วัน
๓. ดาเนินการพ่นน้ายาฆ่าเชื้อโรคไข้หวัดใหญ่ และโรคมือ เท้า ปาก ในห้องเรียนและห้องน้าทุก
ห้อง ทุกวันศุกร์ ช่วงบ่าย
๔. เน้นย้านักเรียนให้ “กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่” หากมีอาการไอให้สวม
หน้ากากอนามัย มีการแยกของใช้แต่ละคนไม่ให้ปะปนกัน เปิดประตูหน้าต่างให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก
แสงแดดส่องได้ทั่วถึง
๕. ให้ความรู้เรื่องโรคมือ เท้า ปาก โรคไข้หวัดใหญ่ และโรคไข้เลือดออก ให้กับนักเรียนและบุคลากรศูนย์
การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก
๖. ทาการสารวจลูกน้ายุงลายและกาจัด แหล่งเพาะพันธ์ยุงลายทุก 7 วัน โดยนักเรียน,
ผู้ปกครองและ บุคลากรศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธรหากพบนักเรียนป่วยเป็น ไข้เลือดออก
จะประสานงานกับโรงพยาบาลนครนายก ให้เข้ามาพ่นสารเคมีกาจัดยุงทันที เพื่อกาจัดยุงตัวแก่ที่เป็น
พาหะของโรค ทั้งนี้ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธรประจาจังหวัดนครนายกได้ ขอความอนุเคราะห์
โรงพยาบาลนครนายก ในการเข้ามาพ่นยากาจัดยุงลายในโรงเรียน เดือนละ 1 ครั้ง
ทั้งนี้มาตรการมาตรการป้องกันโรคติดต่อควบคุมโรคติดต่อภายในสถานศึกษาจะประสบผลสาเร็จได้
จึงใคร่ขอความร่วมมือจากผู้ปกครองในการดูแลนักเรียน ดังนี้
1. ให้ดูแลนักเรียนขณะอยู่บ้าน หรือที่อื่น ๆ นอกเหนือจากบริเวณโรงเรียน เน้นย้าการดูแลตนเอง
ไม่ให้ถูกยุงกัด และทายากันยุงหรือสเปรย์พ่นกันยุงเพื่อป้องกันยุงกัด และขอผู้ปกครองช่วยกาจัดแหล่งเพาะพันธ์
ยุงลายและลูกน้ายุงลายในบริเวณบ้านพักอาศัย ทุก 7 วัน
2. ให้ดูแลสุขภาพอนามัยส่วนบุคคล การรับประทานอาหารที่สุกใหม่ และล้างมือด้วยสบู่หรือ
แอลกอฮอล์เจลบ่อยๆ
3. เมื่อมีอาการไข้ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ไอ จาม เจ็บคอ คลื่นไส้อาเจียน ควรรีบไปพบแพทย์
ทันที
4. เมื่อมีอาการต้องป้องกันการแพร่เชื้อสู่ผู้อื่น ทั้งในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจา
จังหวัดนครนายกและชุมชน ให้สวมหน้ากากอนามัยและใช้ผ้าเช็ดหน้าปิดปาก จมูกทุกครั้งที่มีการไอหรือจาม
5. ในกรณีที่นักเรียนป่วยด้วยโรคดังกล่าวข้างต้น ให้พักอยู่กับบ้านเป็นเวลา 7 วัน นับจากวันเริ่มมี
อาการ เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อในห้องเรียน

Más contenido relacionado

Más de Yui Yuyee

ข้อมูลงบทดลองประจำงวดที่12
ข้อมูลงบทดลองประจำงวดที่12ข้อมูลงบทดลองประจำงวดที่12
ข้อมูลงบทดลองประจำงวดที่12Yui Yuyee
 
งวดที่ 11
งวดที่ 11งวดที่ 11
งวดที่ 11Yui Yuyee
 
ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60
ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60
ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60Yui Yuyee
 
มาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษา
มาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษามาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษา
มาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษาYui Yuyee
 
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษามาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษาYui Yuyee
 
วารสาร พ.ย. ธ.ค.59
วารสาร พ.ย. ธ.ค.59วารสาร พ.ย. ธ.ค.59
วารสาร พ.ย. ธ.ค.59Yui Yuyee
 
วารสาร ก.ย. ต.ค.59
วารสาร ก.ย. ต.ค.59วารสาร ก.ย. ต.ค.59
วารสาร ก.ย. ต.ค.59Yui Yuyee
 
วารสาร ก.ค. ส.ค.2559
วารสาร ก.ค. ส.ค.2559วารสาร ก.ค. ส.ค.2559
วารสาร ก.ค. ส.ค.2559Yui Yuyee
 
วารสาร พ.ค. มิ.ย.59
วารสาร พ.ค. มิ.ย.59วารสาร พ.ค. มิ.ย.59
วารสาร พ.ค. มิ.ย.59Yui Yuyee
 
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559Yui Yuyee
 
วารสาร ม.ค. ก.พ.2559
วารสาร ม.ค. ก.พ.2559วารสาร ม.ค. ก.พ.2559
วารสาร ม.ค. ก.พ.2559Yui Yuyee
 

Más de Yui Yuyee (12)

ข้อมูลงบทดลองประจำงวดที่12
ข้อมูลงบทดลองประจำงวดที่12ข้อมูลงบทดลองประจำงวดที่12
ข้อมูลงบทดลองประจำงวดที่12
 
งวดที่ 11
งวดที่ 11งวดที่ 11
งวดที่ 11
 
ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60
ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60
ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60
 
มาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษา
มาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษามาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษา
มาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษา
 
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษามาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
 
วารสาร พ.ย. ธ.ค.59
วารสาร พ.ย. ธ.ค.59วารสาร พ.ย. ธ.ค.59
วารสาร พ.ย. ธ.ค.59
 
วารสาร ก.ย. ต.ค.59
วารสาร ก.ย. ต.ค.59วารสาร ก.ย. ต.ค.59
วารสาร ก.ย. ต.ค.59
 
วารสาร ก.ค. ส.ค.2559
วารสาร ก.ค. ส.ค.2559วารสาร ก.ค. ส.ค.2559
วารสาร ก.ค. ส.ค.2559
 
วารสาร พ.ค. มิ.ย.59
วารสาร พ.ค. มิ.ย.59วารสาร พ.ค. มิ.ย.59
วารสาร พ.ค. มิ.ย.59
 
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
 
วารสาร ม.ค. ก.พ.2559
วารสาร ม.ค. ก.พ.2559วารสาร ม.ค. ก.พ.2559
วารสาร ม.ค. ก.พ.2559
 
Sar 2558
Sar 2558Sar 2558
Sar 2558
 

มาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษา

  • 2. มาตรการป้องกันโรคติดต่อควบคุมโรคติดต่อภายในสถานศึกษา ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก ******************************** เนื่องจากในปัจจุบันพบว่ามีการระบาดของโรคติดต่อหลายชนิดในหมู่นักเรียนและสถานการณ์ยังมี แนวโน้มที่สูงขึ้น ประกอบกับเป็นช่วงฤดูฝนทาให้มีการแพร่กระจายของเชื้อโรคต่าง ๆ ได้ง่าย อาทิ โรคมือ เท้า ปาก, ไข้หวัดใหญ่, ไข้เลือดออก เป็นต้น ซึ่งสถานศึกษาเป็นแหล่งที่มีความเสี่ยงสูงในการแพร่เชื้อ อาจทาให้เกิด การระบาดในกลุ่มนักเรียน อาจารย์ และบุคลากรในโรงเรียนได้อย่างรวดเร็ว เพื่อเตรียมความพร้อมในการป้องกัน และลดผลกระทบการแพร่ระบาดของเชื้อโรค ทางศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธรประจาจังหวัดนครนายกจึง ได้มี มาตรการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรค ดังนี้ 1. มีการตรวจคัดกรองนักเรียนทุกวัน ท่าที่ ๑ ยื่นมือออกไปข้างหน้าให้สุดแขนทั้งสองข้าง คว่ามือ กางนิ้วทุกนิ้ว
  • 3. ท่าที่ ๒ ต่อเนื่องจากท่าที่ 1 คือ พลิกมือหงายขึ้น กางนิ้วทุกนิ้ว ท่าที่ ๓ งอแขน พับข้อศอก ใช้นิ้วแตะเปลือกตาล่างเบาๆ ดึงเปลือกตาล่างพร้อมกับเหลือกตา ขึ้นและลง แล้วกรอกตาไปมาทั้งด้านซ้ายและด้านขวา
  • 4. ท่าที่ ๔ ใช้มือทั้งสองข้างดึงคอเสื้อให้กว้าง ภายหลังที่ปลดกระดุมหน้าอกเสื้อแล้ว หมุนตัวซ้ายและ ขวาเล็กน้อย เพื่อให้เห็นบริเวณคอโดยรอบ ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง ท่าที่ ๕ นักเรียนหญิงใช้มือขวาเปิดผมไปทัดไว้ ด้านหลังหูขวาหันหน้าไปทางซ้าย ส่วนนักเรียนชายหันหน้าไปด้านซ้ายเท่านั้น
  • 5. ท่าที่ ๖ ต่อเนื่องจากท่าที่ 5 นักเรียนหญิงใช้มือซ้ายเปิดผมไปทัดไว้ด้านหลังหูซ้ายหันหน้าไปทางขวา ส่วนนักเรียนชายหันหน้าไปด้านขวาเท่านั้น ท่าที่ ๗ กัดฟันและยิ้มกว้าง ให้เห็นเหงือกเหนือฟันบน และฟันล่างให้เต็มที่
  • 6. ท่าที่ ๘ อ้าปากกว้าง แลบลิ้นยาว ร้องออกเสียง “อา” พร้อมทั้งเอนศีรษะไปข้างหลังเล็กน้อย ท่าที่ ๙ นักเรียนหญิง ให้แยกเท้าทั้ง 2 ข้าง ห่างกัน 1 ฟุต ใช้มือทั้ง 2 ข้างจับกระโปรง ดึงขึ้นเหนือ เข่าทั้ง 2 ข้าง นักเรียนชายแยกเท้าทั้ง 2 ข้างห่างกัน 1 ฟุต
  • 7. ท่าที่ ๑๐ ต่อเนื่องจากท่าที่ 9 ทั้งนักเรียนหญิงและชาย กลับหลังหัน (ผู้ตรวจ สังเกตหลัง แล้วบอก ให้เดินไปข้างหน้า) แล้วเดินกลับหันหน้าเข้าหาผู้ตรวจ หากพบนักเรียนที่มีอาการป่วยที่มีความเสี่ยงดังต่อไปนี้ จะแนะนา ให้ไปพบแพทย์ โดยจะแยกนักเรียนและติดต่อให้ผู้ปกครองมารับกลับที่ห้องกายภาพบาบัด 1.1 โรคมือ เท้า ปาก จะทาการตรวจดูแผลในปากเป็นหลัก อาจพบหรือไม่พบตุ่มน้าที่ มือ หรือเท้า ก็ได้ มีไข้ 1.2 โรคไข้หวัดใหญ่ จะทาการตรวจวัดไข้ มีอาการปวดศีรษะ ไอ เจ็บ คอ คอแดง ปวดเมื่อยตามตัว ๑.๓ โรคไข้เลือดออก จะทาการตรวจวัดไข้ มีอาการปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน มีจุดแดงขึ้นตามตัว แขน ขา ๒. มีการทาความสะอาดสภาพแวดล้อมในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัด นครนายก เช่น พื้นห้องเรียน พื้นผิวที่นักเรียนสัมผัสบ่อย ๆ เช่น โต๊ะ ลูกบิดประตูราวบันได ห้องน้า ของเล่น ด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ และในกรณีที่พบนักเรียนป่วยด้วยโรคไข้หวัดใหญ่ หรือโรค มือ เท้า ปาก จะดาเนินการพ่นน้ายาฆ่าเชื้อในห้องเรียน ทันที พร้อมกับเฝ้าระวังและคัดกรองนักเรียนห้องนั้น ๆ ทุกวัน จนกว่าจะครบ 7 วัน
  • 8. ๓. ดาเนินการพ่นน้ายาฆ่าเชื้อโรคไข้หวัดใหญ่ และโรคมือ เท้า ปาก ในห้องเรียนและห้องน้าทุก ห้อง ทุกวันศุกร์ ช่วงบ่าย ๔. เน้นย้านักเรียนให้ “กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่” หากมีอาการไอให้สวม หน้ากากอนามัย มีการแยกของใช้แต่ละคนไม่ให้ปะปนกัน เปิดประตูหน้าต่างให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก แสงแดดส่องได้ทั่วถึง ๕. ให้ความรู้เรื่องโรคมือ เท้า ปาก โรคไข้หวัดใหญ่ และโรคไข้เลือดออก ให้กับนักเรียนและบุคลากรศูนย์ การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก ๖. ทาการสารวจลูกน้ายุงลายและกาจัด แหล่งเพาะพันธ์ยุงลายทุก 7 วัน โดยนักเรียน, ผู้ปกครองและ บุคลากรศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธรหากพบนักเรียนป่วยเป็น ไข้เลือดออก จะประสานงานกับโรงพยาบาลนครนายก ให้เข้ามาพ่นสารเคมีกาจัดยุงทันที เพื่อกาจัดยุงตัวแก่ที่เป็น พาหะของโรค ทั้งนี้ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธรประจาจังหวัดนครนายกได้ ขอความอนุเคราะห์ โรงพยาบาลนครนายก ในการเข้ามาพ่นยากาจัดยุงลายในโรงเรียน เดือนละ 1 ครั้ง ทั้งนี้มาตรการมาตรการป้องกันโรคติดต่อควบคุมโรคติดต่อภายในสถานศึกษาจะประสบผลสาเร็จได้ จึงใคร่ขอความร่วมมือจากผู้ปกครองในการดูแลนักเรียน ดังนี้ 1. ให้ดูแลนักเรียนขณะอยู่บ้าน หรือที่อื่น ๆ นอกเหนือจากบริเวณโรงเรียน เน้นย้าการดูแลตนเอง ไม่ให้ถูกยุงกัด และทายากันยุงหรือสเปรย์พ่นกันยุงเพื่อป้องกันยุงกัด และขอผู้ปกครองช่วยกาจัดแหล่งเพาะพันธ์ ยุงลายและลูกน้ายุงลายในบริเวณบ้านพักอาศัย ทุก 7 วัน 2. ให้ดูแลสุขภาพอนามัยส่วนบุคคล การรับประทานอาหารที่สุกใหม่ และล้างมือด้วยสบู่หรือ แอลกอฮอล์เจลบ่อยๆ 3. เมื่อมีอาการไข้ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยเนื้อตัว ไอ จาม เจ็บคอ คลื่นไส้อาเจียน ควรรีบไปพบแพทย์ ทันที 4. เมื่อมีอาการต้องป้องกันการแพร่เชื้อสู่ผู้อื่น ทั้งในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจา จังหวัดนครนายกและชุมชน ให้สวมหน้ากากอนามัยและใช้ผ้าเช็ดหน้าปิดปาก จมูกทุกครั้งที่มีการไอหรือจาม 5. ในกรณีที่นักเรียนป่วยด้วยโรคดังกล่าวข้างต้น ให้พักอยู่กับบ้านเป็นเวลา 7 วัน นับจากวันเริ่มมี อาการ เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อในห้องเรียน