SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 53
Descargar para leer sin conexión
ระบบประสาท
   ครูอังสนา แสนเยีย
โรงเรียนหนองซนพิทยาคม
ระบบประสาท

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ทราบส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบประสาท
2. เพื่อให้ทราบชือสารเคมีที่ใช้รักษาอาการผิดปกติทเี่ กิดขึ้น เนื่องจากการทางานที่
                    ่
   ผิดปกติของส่วนประกอบของระบบประสาท 3. เพื่อให้ทราบถึงอาหารผิดปกติที่
   เกิดขึ้น เมื่อเกิดพยาธิสภาพที่ส่วนต่าง ๆ ของระบบประสาท




     http://zoo.sci.ku.ac.th/html_T/courseware/424111/html/12Nerveous%20system_files/frame.htm
เนื้อเยื่อประสาทประกอบด้วย

       1. Nerve cell (Neuron)
       2. Supporting cell ได้แก่
          2.1 Schwann cell
          2.2 Oligodendroglia
1. รูปร่างของเซลล์ประสาท
    ประกอบด้วย




           ตัวเซลล์ (cell body)

     ภาพที่ 11-1 เซลล์ประสาท (Brum และคณะ, 1994)
แขนง (process) แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ
      เดนไดรต์ (dendrite)

      แอกซอน (axon)


       ชนิดของแอกซอน
                แอกซอนทีมีปลอกมัยอีลีนหุ้ม
                         ่

                แอกซอนทีไม่มีปลอกมัยอีลีนหุ้ม
                         ่
ระบบประสาท




                                ภาพที่ 11-2 การเกิดเยื่อหุ้มไมอีลิน (Tortora และ Grabowski, 1996)
                                       11-
ชีววิทยา (424111) อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
ระบบประสาท




ภาพที่ 11-3 เส้นประสาท
       11-
   (Tortora และ Grabowski, 1996)
ระบบประสาท




             ภาพที่ 11-4 Oligodendrocyte (Graaff และ Fox, 1995)
                    11-
2. ชนิดของเซลล์ประสาท
           2.1 เมื่อแบ่งตามจานวนแขนงที่แตกออกจากตัวเซลล์
               ได้แก่
                เซลล์ประสาทขั้วเดียว

                     เซลล์ประสาทสองขั้ว


                     เซลล์ประสาทหลายขั้ว



ชีววิทยา (424111) อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
ระบบประสาท




ภาพที่ 11-5 ชนิดของเซลล์ประสาท
       11-
           (Martini และ Timmons,
            1997)
2.2 เมื่อแบ่งเซลล์ประสาทตามหน้าที่ จะแบ่งเป็น
                       เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory, afferent neuron)

                       เซลล์ประสาทสั่งการ (motor, efferent neuron)

                       เซลล์ประสาทเชื่อม (association, interneuron,
                        internuncial neuron)



ชีววิทยา (424111) อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
คุณสมบัติของเซลล์ประสาทมี 2 ประการ
                     excitability
                     conductivity
ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในภาวะปกติของเซลล์ประสาท
                ER ของเซลล์ประสาท         = -70 mv


ชีววิทยา (424111) อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
ภาพที่ 11-6 วิธีวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าในภาวะปกติของเซลล์ประสาท (Campbell และ Reece,2002)
       11-                                                                  Reece,2002)
ภาพที่ 11-7 ไอออนที่มีผลต่อการเกิดความต่างศักย์ขณะพัก (Campbell และ คณะ,1997)
       11-
แอกชันโพเทนเชียล
           คือ ความต่างศักย์ขณะที่เซลล์ประสาทถูกกระตุ้น ซึ่งจะเกิดการ
           เปลี่ยนแปลงดังนี้ คือ
          1. เยื่อหุ้มเซลล์บริเวณที่ถูกกระตุ้นจะยอมให้ Na+ เคลื่อนที่เข้าสู่
             เซลล์ได้มากกว่าปกติ
          2. ทาให้ความต่างศักย์ซึ่งมีค่าประมาณ -70 mv เปลี่ยนเป็น -69, -
             68, -67,…….....จนกระทั่งเปลี่ยนเป็น -55 mv เรียกว่าถึงจุด
             firing level
          3. รูบนเยื่อหุ้มเซลล์ที่ให้เฉพาะ Na+ ผ่านได้เท่านั้น (Na+ channel)
             เปิดออกเต็มที่ Na+ จึงเคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์อย่างรวดเร็ว


ชีววิทยา (424111) อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
4. ทาให้ความต่างศักย์เปลี่ยนจาก -55 mv เป็น +35 mv อย่าง
                 รวดเร็ว เรียกว่าเกิดการ depolarization หรือการกลับขั้ว
       5. ทาให้เกิดการนากระแสประสาท ( nerve impulse ) ได้
       6. repolarization
       7. negative after potential หรือ after depolarization
       8. positive after potential หรือ after hyperpolarization



ชีววิทยา (424111) อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
ระบบประสาท




  ภาพที่ 11-8 การเคลื่อนที่ของโซเดียมไอออนและโพแทสเซียมไอออนขณะเกิดศักย์ไฟฟ้า (Campbell และ คณะ,1997)
         11-
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของเซลล์ประสาท
  threshold
  subthreshold
  เกิด local response
   All or None Law ( Rule )
ภาพที่ 11-9 การเกิดกระแสเฉพาะที่ (Ganong,2001)
                                            11-
ชีววิทยา (424111) อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
การเคลื่อนทีของกระแสประสาท (propagation of nerve impulse)
             ่
    1.         ในใยประสาทที่ไม่มีปลอกไมอีลินหุ้ม




            ภาพที่ 11-10 การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทที่ไม่มีปลอกไมอีลินหุ้ม (Ganong,2001)
                   11-
ชีววิทยา (424111) อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
2.          ในใยประสาทที่มีปลอกไมอีลินหุ้ม




                ภาพที่ 11-11 การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทที่มีปลอกไมอีลินหุ้ม (Ganong,2001)
                       11-
ชีววิทยา (424111) อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
เรียกการเคลื่อนที่แบบกระโดดนี้ว่า saltatory conduction

การส่งกระแสประสาทระหว่างเซลล์ประสาท
Synapses
     presynaptic neuron
     postsynaptic neuron
ภาพที่ 11-12 ลักษณะการซิแนปส์
       11-
           (Brum และคณะ,1994)
ระบบประสาท




             ภาพที่ 11-13 ลักษณะโครงสร้างของsynapse
                    11-                 งของsynapse
                        (Brum และคณะ,1994)
การส่งกระแสประสาทที่ผ่านซิแนปส์ มี 2 แบบ คือ
          1 ซิแนปส์ไฟฟ้า

          2 ซิแนปส์เคมี

 การเปลี่ยนแปลงทางไฟฟ้าที่ synapse มี 2 แบบ คือ
        1. EPSP (excitatory postsynaptic potential) ทาให้เกิด
 depolalization มีสารสื่อประสาท คือ acetylcholine,
 norepinephrine, epinephrine, dopamine, serotonin,
 L-glutamate และ L-aspatate
ชีววิทยา (424111) อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
ภาพที่ 11-14 ลาดับของการทาให้เกิดศักย์ไฟฟ้าที่เร้าเซลล์หลัง
       11-
           ซิแนปส์ (Campbell และ Reece ,2002)




     ชีววิทยา (424111) อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
2. IPSP (Inhibitory Postsynaptic Potential) ทาให้เกิด
       hyperpolarization (-80 mv) มีสารสื่อประสาท คือ
       gamma aminobutyric acid (GABA) ,glycine, taurine, alanine
                    ____________________________

                           วงจรการทางานของระบบประสาท
 วงจรรีเฟล็กซ์ (reflex arc)
          • เป็นวงจรการทางานที่ง่ายที่สุดของระบบประสาท

ชีววิทยา (424111) อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
ภาพที่ 11-15 วงจรรีเฟล็กซ์ (Tortora และ Grabowski,1996)
       11-
องค์ประกอบของวงจรรีเฟล็กซ์
  1. receptor
  2. afferent neuron
  3. reflex center (integrating   center)
  4. efferent neuron
  5. effector organ
ชนิดของรีเฟล็กซ์
แบ่งตามจานวนครั้งของการซิแนปส์
1. monosynaptic reflex เช่น Knee jerk, angle jerk
2. Polysynaptic reflex เช่น withdrawal reflex และ
   crossed extension reflex
ภาพที่ 11-16 วงจรของรีเฟลกซ์หนึ่งซิแนปส์และสองซิแนปส์ (Campbell และ คณะ,1997)
       11-
ภาพที่ 11-17 วิวัฒนาการของระบบประสาทในสัตว์ชนิดต่างๆ (Brum และคณะ,1994)
       11-
ภาพที่ 11-18 วิวัฒนาการของระบบประสาทในสัตว์ชนิดต่างๆ (Brum และคณะ,1994)
       11-
ระบบประสาทของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ตามตาแหน่งที่อยู่ คือ

      1. ระบบประสาทส่วนกลาง ได้แก่
       สมอง (brain)
       ไขสันหลัง (Spinal cord)
      2. ระบบประสาทส่วนปลาย
       เส้นประสาทสมอง 12 คู่ (cranial nerve = CN)
       เส้นประสาทไขสันหลัง 31 คู่ (spinal nerve)
       ปมประสาท (ganglia)
แบ่งระบบประสาทตามหน้าที่ ก็แบ่งเป็น 2 ระบบคือ
     ระบบประสาทโซมาติก
     ระบบประสาทอัตโนวัติ

ส่วนประกอบของสมอง
  1. สมองใหญ่ (cerebrum) แบ่งออกเป็น 2 ซีก แต่ละซีกเรียกว่า
      cerebral hemisphere
       สมองแต่ละซีกแบ่งออกเป็น 2 ชัน
                                   ้
        ชั้นนอก (cerebral cortex) เรียกอีกชื่อว่า gray matter
        ชั้นใน (cerebral medulla) เรียกอีกชื่อว่า white matter
บนสมองมี gyrus มากมาย มี fissure 2 ร่อง ซึ่งแบ่งสมองทาง
ด้านข้างออกเป็น 4 lobe มี sulcus อยู่ระหว่าง gyrus เมื่อมองสมองทาง
ด้านข้างจะเห็นเป็น 4 lobe คือ

               1. frontal lobe
               2. parietal lobe
               3. temporal lobe
               4. occipital lobe
           
ภาพที่ 11-20 ลักษณะทางกายวิภาคของสมองทางด้านข้าง (Martini และ Timmons,1997)
       11-
ภาพที่ 11-21 หน้าที่และส่วนต่างๆ บนซีรีบรัลคอร์เทกซ์ (Brum และคณะ, 1994)
       11-
สมองในแนว mid - saggital




ภาพที่ 11-22 ลักษณะทางกายวิภาคของสมองเมื่อผ่าครึ่งซีก   (Graaff และ Fox, 1995)
Thalamus มีหน้าที่ที่สาคัญคือ
    1. เป็น sensory relay station
    2. แปลความรู้สึกเจ็บปวด

Hypothalamus มีหน้าที่สาคัญ คือ
      1. ควบคุมการทางานของระบบประสาทอัตโนวัติ
      2. ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
      3. ควบคุมสมดุลย์น้าในร่างกาย
      4. ควบคุมการหลั่งฮอร์โมน จากต่อมใต้สมอง
5. ควบคุมการกินอาหาร
                 6. ควบคุมการแสดงออกของอารมณ์
                 7. ควบคุมเกี่ยวกับการหลับและตื่น
                 8. ควบคุมการหลั่งน้าย่อยจากกระเพาะอาหาร
 Mid brain
 ประกอบด้วย
 1 cerebral peduncle ทาหน้าที่เป็นวิถีประสาทควบคุมการเคลื่อนไหว
 2 corpora quadrigemina ทาหน้าที่เกี่ยวกับรีเฟล็กซ์ของการมองเห็น
   และการได้ยินเสียง
ชีววิทยา (424111) อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
Pons
   1 เป็น motor relay station
   2 เป็นจุดกาเนิดของ CN คู่ที่ 5, 6, 7
   3 เป็นศูนย์ควบคุมการหายใจเข้าและออก

 Medulla oblongata
  ประกอบด้วย
         วิถีประสาทนาขึ้น (ascending tract)
         วิถีประสาทนาลง (descending tract)
         จุดกาเนิดของ CN 9, 10, 11, 12
 vital center ได้แก่         non-vital center ได้แก่
1. cardioinhibitory center    ศูนย์การกลืน
2. respiratory center         ศูนย์การอาเจียน
     inspiratory center      ศูนย์การไอ
     expiratory center       ศูนย์การจาม
3. vasomotor center
Cerebellum
  มีหน้าที่เป็นศูนย์รับข้อมูลที่จาเป็นสาหรับการเคลื่อนไหว
ไขสันหลัง
     แบ่งตามตาแหน่งที่อยู่เป็น 4 ส่วนคือ
                ไขสันหลังระดับคอ
                ไขสันหลังระดับอก
                ไขสันหลังระดับเอว
                ไขสันหลังระดับกระเบนเหน็บ
 เมื่อตัดไขสันหลังตามขวาง จะเห็นแยกออกเป็น 2 ส่วนคือ
    ชั้นนอกเป็น white matter เป็นบริเวณที่มีใยประสาทที่มีปลอกไมอีลินหุ้ม
    ชั้นในเป็น gray matter ซึ่งอาจมีรูปร่างเป็นรูปตัว H หรือผีเสื้อก็ได้ ขึ้นอยู่กับ
       ระดับของไขสันหลังที่ตัดมา
ระบบประสาท




       ภาพที่ 11-23 ลักษณะทางกายวิภาคของไขสันหลัง เมื่อตัดตามขวาง (Martini และ Timmons, 1997)
              11-
ชีววิทยา (424111) อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
ระบบประสาท




             ไขสันมีหน้าที่ 2 ประการ คือ
                 1. เป็นทางเดินของวิถีประสาท
                    นาขึ้นและนาลง
                 2. เป็นศูนย์กลางของรีเฟล็กซ์



             ภาพที่ 11-24 ทางเดินของเส้นประสาทนาลง
               (Martini และ Timmons, 1997)
ระบบประสาท




                                          ระบบประสาทส่วนปลายได้แก่
                                                เส้นประสาทสมอง 12 คู่
                                                เส้นประสาทไขสันหลัง 31 คู่
                                                ปมประสาท




                                                ภาพที่ 11-25 เส้นประสาทสมองและไข
                                                       11-
                                                  สันหลัง (Martini และ Timmons, 1997)
ชีววิทยา (424111) อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
ระบบประสาทอัตโนวัติ (ANS)

      มีหน้าที่ควบคุมให้อวัยวะภายในทางานประสานกันและเป็น
การทางานนอกอานาจจิตใจ องค์ประกอบของระบบนี้ ได้แก่
          1. receptor
          2. visceral afferent pathway
          3. central control center
          4. visceral efferent pathway
การทางานของระบบนี้แบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ
1. ระบบซิมพาเทติก เมื่อเส้นประสาทของระบบนี้ถูกกระตุ้น
มักจะทาให้อวัยวะที่ไปเลี้ยงทางานได้เร็วขึ้น
2 ระบบพาราซิมพาเทติก ทางานตรงข้ามกับระบบแรก
efferent pathway ของระบบประสาทอัตโนวัติ
   ประกอบด้วยเส้นประสาท 2 เส้นมา synapse กันนอกสมองและไขสันหลัง
    เส้นประสาททั้งสองมีชื่อเรียกว่า
    เส้นประสาทก่อนปมประสาท (preganglionic nerve)
    เส้นประสาทหลังปมประสาท (postganglionic nerve)
ระบบประสาท




                               ภาพที่ 11-27 วิถีประสาทสั่งการและปมประสาทของระบบประสาทอัตโนวัติ (Martini
                                      11-
                               และ Timmons, 1997)
ชีววิทยา (424111) อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
ระบบประสาท




                                                              1. วิถีประสาทสั่งการใน
                                                              ระบบซิมพาเทติก ประกอบ
                                                              ด้วยเส้นประสาทไขสันหลัง
                                                                    ระดับอกคู่ที่ 1-12
                                                                    ระดับเอวคูที่ 1-2
                                                                                 ่




             ภาพที่ 11-28 วิถีประสาทสั่งการของระบบซิมพาเทติก (Martini และ Timmons, 1997)
                    11-
ระบบประสาท




                                                       2. วิถีประสาทสั่งการในระบบ
                                                       พาราซิมพาเทติก ประกอบด้วย
                                                              เส้นประสาทสมองคู่ที่ 3, 7, 9,
                                                                   10
                                                              เส้นประสาทไขสันหลังระดับ
                                                                   กระเบนเหน็บคู่ที่ 2, 3, 4 มา
                                                                   รวมกันเป็น pelvic nerve




             ภาพที่ 11-29 วิถีประสาทสั่งการของระบบพาราซิมพาเทติก (Martini และ Timmons, 1997)
                    11-
คาถามท้ายบท
 1. เนื้อเยื่อประสาทประกอบด้วยเซลล์อะไรบ้าง
 2. อาการพาร์คินซันเกิดจากการขาดสารสื่อประสาทชนิดใด
 3. คนที่เป็นอัมพาต อาจเกิดจากส่วนใดของสมองถูกทาลาย
 4. บุคคลที่ลื่นหกล้ม ศีรษะบริเวณท้ายทอยฟาดพื้น เมื่อลุกขึ้นมา
  อาจมีอาหารผิดปกติใดบ้างที่เกียวข้องกับสมอง 5.สารสื่อประสาท
                                ่
  ชนิดใด ที่ในวงการธุรกิจจะประชาสัมพันธ์ถึงสารชนิดนี้ว่า กินแล้ว
  ความจาจะดี

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
เลิกเสี่ยง. ป่าน
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
Wichai Likitponrak
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
yangclang22
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
Wichai Likitponrak
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
Wichai Likitponrak
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
supreechafkk
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
Jariya Jaiyot
 

La actualidad más candente (20)

4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
โจทย์รายมาตรฐาน ชีววิทยา
โจทย์รายมาตรฐาน ชีววิทยาโจทย์รายมาตรฐาน ชีววิทยา
โจทย์รายมาตรฐาน ชีววิทยา
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
 
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 

Destacado

Learning with tablets in german schools pres edmediaconf12
Learning with tablets in german schools pres edmediaconf12Learning with tablets in german schools pres edmediaconf12
Learning with tablets in german schools pres edmediaconf12
luise_ludwig
 
Бенчмаркинг День 2013 - программа
Бенчмаркинг День 2013 - программаБенчмаркинг День 2013 - программа
Бенчмаркинг День 2013 - программа
Yulya Uzhakina
 
05 módulo 5 guia del instructor
05 módulo 5   guia del instructor05 módulo 5   guia del instructor
05 módulo 5 guia del instructor
Esly Rodezno
 
Suet and sweet
Suet and sweetSuet and sweet
Suet and sweet
hpinn
 
Открытые Системы
Открытые СистемыОткрытые Системы
Открытые Системы
ericsoft
 
Health and safety ppe
Health and safety ppeHealth and safety ppe
Health and safety ppe
hpinn
 
T&T CATALOGO NATALE 2013
T&T CATALOGO NATALE 2013T&T CATALOGO NATALE 2013
T&T CATALOGO NATALE 2013
pixelparty_it
 

Destacado (20)

Learning with tablets in german schools pres edmediaconf12
Learning with tablets in german schools pres edmediaconf12Learning with tablets in german schools pres edmediaconf12
Learning with tablets in german schools pres edmediaconf12
 
Бенчмаркинг День 2013 - программа
Бенчмаркинг День 2013 - программаБенчмаркинг День 2013 - программа
Бенчмаркинг День 2013 - программа
 
05 módulo 5 guia del instructor
05 módulo 5   guia del instructor05 módulo 5   guia del instructor
05 módulo 5 guia del instructor
 
Secondhand exposure to e-cigarettes emissions
Secondhand exposure to  e-cigarettes emissionsSecondhand exposure to  e-cigarettes emissions
Secondhand exposure to e-cigarettes emissions
 
Suet and sweet
Suet and sweetSuet and sweet
Suet and sweet
 
321 unit 9 logistics
321 unit 9 logistics321 unit 9 logistics
321 unit 9 logistics
 
Blackboard basics Hanning
Blackboard basics HanningBlackboard basics Hanning
Blackboard basics Hanning
 
Visualising possible scenarios with ENDS (Electronic Nicotine Delivery Systems)
Visualising possible scenarios with ENDS (Electronic Nicotine Delivery Systems)Visualising possible scenarios with ENDS (Electronic Nicotine Delivery Systems)
Visualising possible scenarios with ENDS (Electronic Nicotine Delivery Systems)
 
connpass design at BPStudy #88
connpass design at BPStudy #88connpass design at BPStudy #88
connpass design at BPStudy #88
 
ccnp route 642 902
ccnp route 642 902ccnp route 642 902
ccnp route 642 902
 
Case Study: Philadelphia Mail Processing and Distribution
Case Study: Philadelphia Mail Processing and DistributionCase Study: Philadelphia Mail Processing and Distribution
Case Study: Philadelphia Mail Processing and Distribution
 
Открытые Системы
Открытые СистемыОткрытые Системы
Открытые Системы
 
Tarea 2
Tarea 2Tarea 2
Tarea 2
 
Health and safety ppe
Health and safety ppeHealth and safety ppe
Health and safety ppe
 
Visualizing the Evolution of Systems and their Library Dependencies
Visualizing the Evolution of Systems and their Library DependenciesVisualizing the Evolution of Systems and their Library Dependencies
Visualizing the Evolution of Systems and their Library Dependencies
 
D2 cv writing v1
D2 cv writing v1D2 cv writing v1
D2 cv writing v1
 
T&T CATALOGO NATALE 2013
T&T CATALOGO NATALE 2013T&T CATALOGO NATALE 2013
T&T CATALOGO NATALE 2013
 
Case Study: Philadelphia Mail Processing and Distribution
Case Study: Philadelphia Mail Processing and DistributionCase Study: Philadelphia Mail Processing and Distribution
Case Study: Philadelphia Mail Processing and Distribution
 
END EXTREME WEALTH
END EXTREME WEALTHEND EXTREME WEALTH
END EXTREME WEALTH
 
321 final speaking test
321 final speaking test 321 final speaking test
321 final speaking test
 

Similar a Nerve cell

การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
Wan Ngamwongwan
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
yangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
bowpp
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2
juriyaporn
 
9789740329985
97897403299859789740329985
9789740329985
CUPress
 
การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012
Namthip Theangtrong
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
auttapornkotsuk
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
Thanyamon Chat.
 

Similar a Nerve cell (20)

การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
Biology m6
Biology m6Biology m6
Biology m6
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
Nervous
NervousNervous
Nervous
 
9789740329985
97897403299859789740329985
9789740329985
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 

Más de Biobiome

หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้น
Biobiome
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของราก
Biobiome
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบ
Biobiome
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
Biobiome
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
Biobiome
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
Biobiome
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
Biobiome
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
Biobiome
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
Biobiome
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
Biobiome
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
Biobiome
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
Biobiome
 

Más de Biobiome (20)

หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้น
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของราก
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบ
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
Onet 05
Onet 05Onet 05
Onet 05
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
05 e
05 e05 e
05 e
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
Pat2 52-1
Pat2 52-1Pat2 52-1
Pat2 52-1
 

Nerve cell