SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 42
Descargar para leer sin conexión
Kan Sumita
ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น
คิดแบบเยอรมัน
PRODUCTIVITY
PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือท�ำแบบญี่ปุ่น
仕事の「生産性」はドイツ人に学べ 「効率」が上がる、「休日」が増える
SHIGOTO NO「SEISANSEI」WA DOITSUJIN NI MANABE「KORITSU」GA AGARU、「KYUJITSU」GA FUERU
© Kan Sumita 2017
First published in Japan in 2017 by KADOKAWA CORPORATION, Tokyo.
Thai translation rights arranged with KADOKAWA CORPORATION,
Tokyo through JAPAN UNI AGENCY, INC., Tokyo.
Thai language translation copyright © 2020 by Superposition Co., Ltd.
All right reserved.
เลขมำตรฐำนสำกลประจ�ำหนังสือ 978-616-8109-20-5
ผู้เขียน: Kan Sumita
ผู้แปล: ทินภาส พาหะนิชย์
กองบรรณำธิกำร: จิรวรรณ วงค�าเสา, ปิยะพงษ์ ศิริสุทธานันท์,
ธีร์ มีนสุข, ธีพร บรรจงเปลี่ยน
ออกแบบปก: สิริกุล ราษฎร์ดุษดี
จัดรูปเล่ม: อรณัญช์ สุขเกษม
รำคำ 235 บำท
จัดพิมพ์โดย ส�ำนักพิมพ์บิงโก
ภายในเครือ บริษัท ซุปเปอร์โพซิชั่น จ�ากัด (Superposition Co., Ltd.)
18 ซอยดุลิยา ถนนกาญจนาภิเษก แขวงบางระมาด เขตตลิ่งชัน กทม. 10170
อีเมล superposition.books@gmail.com
โทรศัพท์ 094-810-7272
เว็บไซต์ www.bingobook.co เฟซบุ๊ก www.facebook.com/bingobooks
จัดจ�ำหน่ำยโดย
บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ากัด (มหาชน) SE-EDUCATION Public Company Limited
เลขที่ 1858/87-90 ถนนเทพรัตน แขวงบางนาใต้ เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260
โทร. 0-2826-8000 โทรสาร 0-2826-8999
เว็บไซต์ www.se-ed.com
พิมพ์ที่ P.R. Color Print โทรศัพท์ 02-806-6344
หากต้องการสั่งซื้อเป็นจ�านวนมาก กรุณาติดต่อรับส่วนลดได้ที่ บริษัท ซุปเปอร์โพซิชั่น จ�ากัด
อีเมล superposition.books@gmail.com
คํานํา
ทําไมเราต้องเรียนรู้จากเยอรมนี?
ผมเป็นคนญี่ปุ่นธรรมดาๆ เกิดที่เมืองเกียวโต ผมมี
โอกาสได้ใช้ชีวิตอยู่ที่เยอรมนีและท�างานกับคนเยอรมันมา
ตั้งแต่ปี 1985 รวมเวลาแล้วก็มากกว่า 20 ปี
เยอรมนีใกล้เคียงญี่ปุ่นมาก ทั้งสองประเทศมีหลาย
อย่างเหมือนกันเยอรมนีอยู่ห่างจากญี่ปุ่นตั้ง10,000กิโลเมตร
แต่มีพื้นที่แทบจะเท่ากัน ถ้าพูดถึงตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวม
ในประเทศ (GDP) ญี่ปุ่นอยู่อันดับ 3 ของโลก ส่วนเยอรมนี
อยู่อันดับ 4
ทั้งสองประเทศเป็นผู้แพ้จากสงครามโลกครั้งที่ 2 ต้อง
ตั้งต้นใหม่จากสภาพบ้านเมืองที่ถูกเผาราบเป็นหน้ากลอง
และต้องพยายามอย่างสุดความสามารถจนฟื้นฟูเศรษฐกิจ
ได้ส�าเร็จตั้งแต่นั้นมาทั้งสองประเทศก็ยกระดับเศรษฐกิจจนมี
เสถียรภาพ
ทว่าความแตกต่างก็มีให้เห็นเช่นกัน
ช่วงเวลากว่า20ปีที่ผมอยู่เยอรมนีผมรู้สึกว่าญี่ปุ่นกับ
เยอรมนีแตกต่างกันมากขึ้นเรื่อยๆเพราะเยอรมนีแข็งแกร่งขึ้น
ถ้าลองดูข้อมูลทางสถิติของทั้งสองประเทศคุณจะเข้าใจความ
แตกต่างนั้นทันที ผมขอยกตัวอย่างข้อมูลชุดหนึ่งเพื่อเปรียบ
เทียบให้เห็นภาพ
จากการส�ารวจขององค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
และการพัฒนา (OECD) พบว่าโดยเฉลี่ยแล้วคนเยอรมัน
ท�างาน 1 ชั่วโมงได้ค่าตอบแทน 65.6 ดอลลาร์ ส่วนคนญี่ปุ่น
ผลิตได้เพียง42.1ดอลลาร์(ข้อมูลในปี2015)สรุปง่ายๆก็คือ
คนเยอรมันมีผลิตภาพหรือ Productivity สูงกว่าคนญี่ปุ่น
ถึง 1.5 เท่า
แล้วคนเยอรมันท�างานแบบไหนกัน? คุณอาจต้อง
แปลกใจเมื่อรู้ข้อเท็จจริงที่ย้อนแย้งของคนเยอรมันดังนี้
•ลาพักร้อนได้ปีละ 5-6 สัปดาห์
•จ�ากัดการท�างานล่วงเวลาในแต่ละวัน
•ถ้าท�างานที่รับผิดชอบในแต่ละวันเสร็จจะกลับบ้าน
ทันทีเพื่อไปกินมื้อเย็นกับครอบครัว
คนเยอรมันท�างานสบายขนาดนี้ แล้วท�าไมพวกเขามี
Productivity สูงกว่า?
เหตุผลแรกคือคนเยอรมันยืดหยุ่นมากกว่าคนญี่ปุ่น
ถ้าคุณมองคนเยอรมันแบบมีอคติคงรู้สึกประหลาดใจกับ
เหตุผลนี้ ความยืดหยุ่นในที่นี้ก็คือ “ความพอดี” มันคือท่าทีที่
ไม่ต้องการความสมบูรณ์แบบและตัดเรื่องหยุมหยิมออกไป
ตัวอย่างเช่น คนเยอรมันมองว่ารถไฟตรงเวลาไม่ใช่
เรื่องธรรมดา พัสดุไปรษณีย์ส่งตรงเวลาก็ไม่ใช่เรื่องธรรมดา
คนเยอรมันจะไม่ฝืนตัวเองเพื่อความสมบูรณ์แบบ
ถ้าให้ผมยกตัวอย่างให้เห็นชัดๆ ก็คือ บางครั้งเราท�า
ข้อสอบได้ 70 คะแนนก็พอแล้ว ไม่จ�าเป็นต้องตั้งเป้าหมาย
ให้ได้เต็ม 100 ทุกครั้ง การผ่อนสั้นผ่อนยาวแบบนี้จึงช่วยให้
คนท�างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผมขอสรุปสั้นๆ จากประสบการณ์ท�างานที่เยอรมนีว่า
กำรผ่อนสั้นผ่อนยำวคือเหตุผลที่เยอรมนีสร้ำงผลงำนได้
มำกกว่ำ ทั้งที่ชั่วโมงท�ำงำนน้อยกว่ำ
ในปี2016รัฐบาลญี่ปุ่นชูแนวคิด“การปฏิรูปการท�างาน”
เป็นมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างหนึ่งบริษัทต่างๆจึงหันมา
ทบทวนวิธีท�างานทันทีบริษัทบางแห่งลองวิธีต่างๆเช่นก�าหนด
วันไม่ท�างานล่วงเวลา ปิดไฟในที่ท�างานตอนสองทุ่ม อนุญาต
ให้พนักงานท�างานทางไกล เป็นต้น ตัวพนักงานเองก็ต้อง
ทบทวนวิธีท�างานเช่นกัน
ถ้าคนญี่ปุ่นอยากเอาการท�างานของคนเยอรมันเป็น
ต้นแบบ สิ่งที่ควรสนใจมากที่สุดก็คือ “แนวคิดทั่วไปของคน
เยอรมัน”
หนังสือเล่มนี้ไม่ได้น�าเสนอทฤษฎีความแตกต่างทาง
วัฒนธรรมและไม่ได้ตั้งใจจะเชิดชูเยอรมนี ผมเพียงอยาก
ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ส่วนตัวที่ผมพบเห็นมาเกี่ยว
กับ“บริษัทและการท�างานของคนเยอรมันที่มีProductivityสูง”
ผมเคยไปท�างานที่เมืองแฟรงก์เฟิร์ต 3 ครั้ง และเป็น
พนักงานญี่ปุ่นคนแรกที่ได้ท�างานที่บริษัทเมทซเลอร์ กรุ๊ป
ส�านักงานใหญ่ มาตั้งแต่ปี 2005 บริษัทนี้คอยให้ค�าปรึกษา
ด้านการลงทุนในประเทศเยอรมนีมาอย่างยาวนานประสบการณ์
ท�างานกับคนเยอรมันช่วยให้ผมได้แง่คิดและแรงจูงใจ
อันล�้าค่ามากมาย ผมเชื่อมั่นว่าคุณจะได้เรียนรู้เคล็ดลับ
เหล่านั้นจากประสบการณ์ของผม
หนังสือเล่มนี้อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับProductivityแยก
เป็นบทๆ ดังนี้
•แนวคิดพื้นฐาน
•วิธีสื่อสาร
•วิธีบริหารเวลา
•การท�างานเป็นทีม
•การใช้ชีวิต
ผมหวังว่าหนังสือเล่มนี้จะช่วยให้คุณปรับเปลี่ยน
มุมมองการท�างานและสนุกไปกับชีวิตครับ
ซุมิตะ คัน
บทนํา
บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐาน
• ท�าไมสถานีรถไฟที่เยอรมนีมีเสียงประกาศน้อย?
• ใช้ชีวิตในแบบของตัวเอง
• ความคิด “พึ่งพาตนเอง เป็นอิสระ”
• เทคนิคหลุดพ้นจากอิทธิพลของคนรอบข้าง
• ก่อนจะท�าตามคนอื่น ลองตั้งค�าถามดูบ้าง
• ฉันควรให้ความส�าคัญกับอะไร?
• คนเยอรมันเลือกทางเดินชีวิตตั้งแต่ 10 ขวบ
• เด็กเยอรมันถูกปลูกฝังให้พึ่งพาตัวเอง
• วิธีใช้เงินของคนญี่ปุ่นกับคนเยอรมัน
• ทุ่มเทเงินและเวลาเพื่อพัฒนาระบบ
12
34
สารบัญ
80
124
บทที่ 2 วิธีสื่อสาร
• แค่พูดอย่างไม่ลังเลก็เพิ่ม Productivity ได้
• ไม่ใช้ค�าว่า “ด่วนที่สุด”
• คิดเสียว่าถามฟรี
• เทคนิคเลิกเดาใจคน
• ไม่ “โฮเร็นโซ” โดยเปล่าประโยชน์
•เมื่อท�าผิดต้องคิดว่า“ครั้งต่อไปจะท�าอย่างไร?”
• หยุดเขียนอีเมลที่ถามไปเรื่อยไม่จบสิ้น
• ไม่ประชุมแบบตัดสินใจไม่ได้
• สังสรรค์กับเพื่อนร่วมงานเพื่อให้งานราบรื่น
•เสริมความแข็งแกร่งของการสื่อสารแนวนอน
• พูดค�าที่เขาใช้กัน
บทที่ 3 วิธีบริหารเวลา
• เวลาสามารถบริหารได้
• ลองคิดว่า “การท�างานล่วงเวลาไม่ใช่สิ่งที่ดี”
• อย่าเสียเวลาเขียนอีเมลนาน
• วิธีใช้เวลาพักแบบคนเยอรมัน
• เก็บออมชั่วโมงท�างานล่วงเวลา
• เวลาเงียบสงบช่วยเพิ่ม Productivity
• วิธีจัดล�าดับความส�าคัญของงานแบบคนเยอรมัน
• เทคนิคก�าจัดสิ่งรบกวนสมาธิ
• ใครๆ ก็ลาพักร้อนได้
บทที่ 4 การทํางานเป็นทีม
• เพิ่มความฉับไวในการท�างาน
• ส�านึกรับผิดชอบเรื่องงาน
• บางเวลาต้องถ่ายโอนอ�านาจ
• ยิ่งเป็นข้อมูลไม่ดี ยิ่งต้องเปิดรับ
• รู้จักพลิกแพลงเวลาสั่งงาน
• ครึ่งชีวิตคือการจัดระเบียบ
• อย่าลังเลที่จะย้อนถามจนกว่าจะเข้าใจ
• เลขาฯ คือเพื่อนร่วมรบ
• ท�าไมคนเยอรมันชอบดื่มในบริษัทตอน5โมงเย็นวันศุกร์
• ผูกไมตรีกับลูกค้า
บทที่ 5 การใช้ชีวิต
• วิธีช่วยให้พนักงานลางานง่ายขึ้น
164
192
• วางสมาร์ทโฟนแล้วไปเดินเล่นกัน
• ครอบครัวมาเป็นที่หนึ่ง
• จัดสภาพแวดล้อมในการท�างานให้ดี
• มีน�้าใจให้มากขึ้น
• ยอมรับวิธีท�างานที่หลากหลาย
• อย่าเอาชีวิตไปเกาะติดกับที่ท�างาน
7 เทคนิคทํางานเก่งทันที
ตั้งแต่วันพรุ่งนี้
บทส่งท้าย
ประวัตินักเขียน
219
234
239
序章
บทนํา
14 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น
ทําไมคนเยอรมันมี Productivity
สูงกว่าคนญี่ปุ่นถึง 1.5 เท่า?
Productivity เป็นค�าที่ถูกพูดถึงมากในช่วงไม่กี่ปีมานี้
เรามักได้ยินหลายคนพูดว่า“ฉันอยากมีProductivityมากขึ้น”
แล้วคุณรู้ไหมครับว่าค�านี้หมายถึงอะไร?
Productivity คือการวัดประสิทธิภาพในการผลิต ซึ่ง
อาจหมายถึงเงิน งาน หรือผลลัพธ์อื่นๆ ก็ได้ ดังนั้นคนที่มี
Productivity สูงก็หมายความว่าเขาคนนั้นสร้างผลงานได้
เท่ากับคน 2 หรือ 3 คน เป็นต้น
ตอนนี้ เราได้ยินปัญหา “คนญี่ปุ่นท�างานหนักจนถึง
ขั้นเสียเสียชีวิต” หรือ “บริษัทใช้แรงงานพนักงานราวกับทาส”
ตามพาดหัวข่าวอยู่บ่อยครั้ง
คุณคิดอย่างไรบ้างครับ?พอใจสภาพแวดล้อมและงาน
ที่ท�าอยู่ตอนนี้หรือเปล่า?
15
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 คนญี่ปุ่นขยันท�างานเพื่อ
ไล่ตามคนอเมริกัน แล้วก็แซงหน้าได้ในที่สุด
ผมเริ่มท�างานช่วงทศวรรษ1980ในช่วงนั้นการท�างาน
ปีละกว่า 2,000 ชั่วโมงไม่ใช่เรื่องแปลก เราต่างแซ่ซ้องยินดี
ที่ประเทศชาติพัฒนาและเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เพราะ
ผลงานของคนรุ่นก่อน
ทว่าเมื่อไม่กี่ปีมานี้หรือหลังจากภาวะฟองสบู่แตก ถึง
คนญี่ปุ่นจะมีชั่วโมงท�างานเยอะ แต่ประเทศกลับไม่เจริญ
ก้าวหน้ามากเท่าที่คิดค�าพูดที่ว่า“ยิ่งประชากรมีชั่วโมงท�างาน
เยอะ ประเทศยิ่งเจริญก้าวหน้า” คงไม่ถูกต้องอีกแล้ว
คนญี่ปุ่นเลยเรียกร้องให้เกิดการปฏิรูปการท�างานโดย
ตั้งเป้าหมายที่จะยกระดับProductivityด้วยวิธีต่างๆเช่นท�างาน
ทางไกล ให้พนักงานเลิกงานบ่ายสามทุกวันศุกร์สิ้นเดือน
ก�าหนดระเบียบการท�างานล่วงเวลา และส่งเสริมให้พนักงาน
ลาพักร้อน
ระยะหลังมานี้หลายบริษัทเริ่มเข้มงวดเรื่องลดการ
ท�างานล่วงเวลา บางบริษัทลองก�าหนดวันปลอดการท�างาน
ล่วงเวลา บางบริษัทห้ามท�างานล่วงเวลาหลังสองทุ่ม แต่วิธี
พวกนี้ไม่ช่วยให้ Productivity ของคนญี่ปุ่นเพิ่ม
บริษัทขนาดใหญ่บางแห่งลองจ้างบริษัทอื่นให้ท�างาน
16 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น
แทนเพื่อลดการท�างานล่วงเวลาลง แต่วิธีนี้ไม่ได้แก้ปัญหา
ที่ต้นเหตุ มันแค่ปัดปัญหาให้พ้นตัวมากกว่า
ค�าถามคือ “อะไรคือกุญแจส�าคัญที่ช่วยให้คนญี่ปุ่นมี
Productivity เพิ่มขึ้น?”
ผมใช้ชีวิตและท�างานอยู่ที่ประเทศเยอรมนีมากว่า20ปี
ผมได้ท�างานกับพนักงานระดับหัวกะทิ ใช้ชีวิตท่ามกลางชาว
เยอรมัน และได้รับอิทธิพลด้านการท�างานจากพวกเขา
เยอะมากประสบการณ์พวกนี้ช่วยให้ผมรู้เคล็ดลับของการเพิ่ม
Productivity
ข้อมูลขององค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทาง
เศรษฐกิจ(OECD)ปี2015ระบุว่าคนญี่ปุ่น1คนท�างานปีละ
1,719 ชั่วโมง ส่วนคนเยอรมันท�างานปีละ 1,371 ชั่วโมง
น้อยกว่าคนญี่ปุ่นราว 350 ชั่วโมง ถ้าค�านวณเป็นวันซึ่งปกติ
แล้วเราท�างานวันละ 8 ชั่วโมง เท่ากับว่าคนญี่ปุ่นท�างาน
มากกว่าคนเยอรมันปีละ 43 วัน!
ข้อมูลนี้ยังไม่ได้รวมชั่วโมงท�างานล่วงเวลาของธุรกิจ
บริการ นั่นแปลว่ามีคนญี่ปุ่นที่ท�างานเกิน 3,000 ชั่วโมงอยู่
ไม่น้อย
แม้ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ของญี่ปุ่น
จะอยู่อันดับ 3 ของโลก ส่วนเยอรมนีอยู่อันดับที่ 4 แต่ถ้าเป็น
17
ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติต่อหัว(GNP)ญี่ปุ่นจะอยู่อันดับ
22 ส่วนเยอรมนีกลับขึ้นมาน�าในอันดับ 19
สรุปว่าคนญี่ปุ่นท�างานเยอะชั่วโมงกว่าคนเยอรมันแต่
สร้างผลงานและผลลัพธ์น้อยกว่า
ผมคิดมาตลอดว่าคนญี่ปุ่นกับเยอรมันต่างกันตรงไหน
ในที่สุดผมก็รู้ว่าข้อแตกต่างที่ชัดที่สุดคือ“แนวคิดต่อการท�างาน
และวิถีชีวิต”
ถ้าการเพิ่ม Productivity คือภารกิจของคนญี่ปุ่นทั้ง
ประเทศ ผมมองว่าการเอาอย่างคนเยอรมันตอนนี้ไม่ใช่เรื่อง
เสียหาย
18 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น
สถิติตัวเลขของ ‘เยอรมนี’ กับ ‘ญี่ปุ่น’
พื้นที่ประเทศ (ตร.กม.)
ชั่วโมงทํางาน (ชั่วโมงต่อปี)
GDP (ล้านดอลลาร์)
แรงงาน (พันคน)
ประชากร (ล้านคน)
มูลค่าของผลงานที่ทําได้
ใน 1 ชั่วโมงต่อคน (ดอลลาร์)
GNP (ดอลลาร์ต่อคน)
จํานวนวันหยุดทั้งปี
ประเทศเยอรมนี
357,376
1,371
4,028,364
42,161
82.7
65.5
48,839
145
ที่มา : ‘สถิติโลก ปี 2017’ (ส�านักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงการสื่อสารและกิจการภายใน ประเทศ
ญี่ปุ่น), ‘THE WORLD BANK Data’, ‘OECD Data’ ‘สมุดข้อมูลแรงงานระหว่างประเทศ ปี 2017’
(สถาบันการฝึกอบรมและนโยบายด้านแรงงานของญี่ปุ่น),‘ผลิตภาพแรงงานระหว่างประเทศปี2016’
(ศูนย์เพิ่มผลิตภาพแห่งประเทศญี่ปุ่น)
377,971
1,719
5,266,444
65,980
127
42.1
41,534
137.4
ประเทศญี่ปุ่น
19
คนญี่ปุ่นเรียกวันจันทร์ถึงวันศุกร์
ว่า “วันธรรมดา”
แต่คนเยอรมันเรียกว่า “วันทํางาน”
เยอรมนีกับญี่ปุ่นมีจุดร่วมอย่างคาดไม่ถึงทั้งสองประเทศ
ต่างเป็นประเทศแพ้สงคราม หลังแพ้สงครามก็เจริญก้าวหน้า
ในฐานะประเทศอุตสาหกรรมทั้งสองประเทศเก่งด้านการผลิต
สินค้า เยอรมนีเป็นอันดับ 1 ในสหภาพยุโรป (EU) เพราะ
พวกเขาพัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าอย่างต่อเนื่อง
รถยนต์ที่ได้รับความไว้วางใจทั่วโลกคือ รถญี่ปุ่นไม่ก็
รถเยอรมัน เช่น เบนซ์ โฟล์กสวาเกน บีเอ็มดับเบิลยู และออดี้
บริษัทผลิตกล้องไลก้าก็มาจากเยอรมัน เครื่องใช้ไฟฟ้า
โดยเฉพาะเครื่องดูดฝุ่นยี่ห้อมิเอเล่ก็ได้รับความนิยมใน
ญี่ปุ่น มีดท�าครัวยี่ห้อเฮงเคิลส์ก็มีคนญี่ปุ่นชื่นชอบไม่น้อย
สินค้าเยอรมันจึงมีภาพลักษณ์ว่า “คุณภาพดีและแข็งแรง”
มาร์คเยอรมัน เป็นสกุลเงินที่แข็งค่าอยู่เสมอ รัฐบาล
เยอรมันจึงพยายามผลักดันให้ประเทศกลายเป็นผู้ชนะ
ในสงครามการค้าโดยทุ่มก�าลังไปที่การพัฒนาคุณภาพสินค้า
สุดท้ายเยอรมนีก็กลายเป็นหนึ่งในมหาอ�านาจทางเศรษฐกิจ
20 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น
ของโลก
อุตสาหกรรมในญี่ปุ่นก็ไม่ด้อยไปกว่าเยอรมนี หลัง
แพ้สงครามไม่นานญี่ปุ่นก็ฟื้นฟูเศรษฐกิจได้อย่างน่าอัศจรรย์
จากนั้นก็มุ่งมั่นยกระดับคุณภาพสินค้าจนสกุลเงินเยนแข็งค่า
และมีศักยภาพในการแข่งขันทางเศรษฐกิจไม่แพ้เยอรมนี
แต่มาวันนี้ ท�าไมทุกอย่างถึงแตกต่างกัน?
ดร.ฟรานซ์ วอลเดนเบอร์เกอร์ แห่งสถาบันเยอรมนี-
ญี่ปุ่นศึกษา แสดงความเห็นเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่าง
เยอรมนีกับญี่ปุ่นว่า“เยอรมนีกับญี่ปุ่นมีแนวคิดเรื่องการปฏิบัติ
ต่อพลเมืองแตกต่างกัน เยอรมนีมองว่าพลเมืองคือแรงงาน
จึงให้ความส�าคัญเรื่องสิทธิแรงงานส่วนญี่ปุ่นมองว่าพลเมือง
คือผู้บริโภค จึงให้ความส�าคัญเรื่องสิทธิผู้บริโภค”
เยอรมนีให้ความส�าคัญเรื่องสิทธิแรงงาน พวกเขาจึง
มอบจ�านวนวันหยุดให้แรงงานเต็มที่ ก�าหนดชั่วโมงท�างานใน
1 วันอย่างเข้มงวด และสร้างประเทศที่เป็นมิตรกับแรงงาน
ส่วนญี่ปุ่นให้ความส�าคัญเรื่องสิทธิผู้บริโภค เราจึงมี
แนวคิดฝังลึกว่า“ลูกค้าคือพระเจ้า”เราก็เลยเปิดร้านสะดวกซื้อ
24 ชั่วโมงเพื่อ “พระเจ้า” ถ้าพระเจ้าสั่งซื้อสินค้าออนไลน์
สินค้าก็จะมาส่งในวันรุ่งขึ้นยกเว้นร้านที่ปิดวันเสาร์อาทิตย์ซึ่ง
สิ่งเหล่านี้กลายเป็นเรื่องปกติไปแล้ว
21
ผมเคยได้ยินมาว่าสาเหตุที่คนญี่ปุ่นคิดว่า “ลูกค้าคือ
พระเจ้า”มาจากค�าพูดของอดีตนักร้องผู้ล่วงลับอย่างคุณมินามิ
ฮารุโอะเขาเคยกล่าวว่า“จะร้องเพลงอย่างสมบูรณ์แบบเพราะ
ผู้ชมคือพระเจ้า” แต่เขากลับสื่อความหมายไม่ตรงกับเจตนา
ของตัวเอง
ชาวญี่ปุ่นมีแนวคิดฝังลึกว่าการน�าเสนอสินค้าหรือ
บริการที่ดีในราคาย่อมเยาให้“พระเจ้า”คือเรื่องปกตินี่จึงเป็น
เหตุให้คนที่ท�างานบริการเกิดความเครียด
คนเยอรมันเรียกวันจันทร์ถึงวันศุกร์ว่าArbeitstagหรือ
Werktag หมายความว่า “วันท�างาน” คนเยอรมันส่วนใหญ่
นับถือศาสนาคริสต์ วันสุดสัปดาห์จึงเป็นวันพักผ่อน เมื่อเป็น
วันพักผ่อนก็ต้องไม่ท�างาน ร้านค้าก็ไม่เปิด คนเยอรมันจะไม่
ท�างานในวันพักผ่อน
ส่วนคนญี่ปุ่นเรียกวันจันทร์ถึงวันศุกร์ว่า “วันธรรมดา”
หรือเรียกอีกอย่างว่าวันปกติ วันหยุดจึงมีภาพลักษณ์ว่าเป็น
“วันพิเศษ”
“ชูคิวฟุตสึกะ(週休2日)”เป็นวลีติดปากที่หมายความว่า
ได้หยุดงานสัปดาห์ละ2วันเรามองวันท�างานเป็นวันธรรมดา
วันหยุดเลยกลายเป็นวันพิเศษ เราจึงสนใจว่าจะได้หยุดงาน
สัปดาห์ละกี่วัน
22 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น
คนเยอรมันไม่มีวลีนี้ แต่พวกเขาชอบพูดว่า
“Fünftagewoche” ซึ่งหมายความว่า ท�างานสัปดาห์ละ 5 วัน
คนเยอรมันมองว่าการท�างานเป็นเรื่องพิเศษ จึงสนใจวัน
ท�างานมากกว่า
คนญี่ปุ่นมองว่าแรงงานเป็นสิ่งที่น่าเคารพ และความ
ขยันขันแข็งเป็นคุณธรรมอันดีงาม เราจึงให้ความส�าคัญกับ
การท�างานมาก ถึงขนาดมีสุภาษิตบทหนึ่งว่า “คนไม่ท�างาน
ไม่สมควรกินข้าว”
ถ้าคุณไปบอกผู้บริหารชาวญี่ปุ่นว่า“ตัวเองท�างานหนัก”
คุณจะโดนสวนกลับมาว่า“งั้นก็ลาออกไปสิไม่ต้องทนท�างาน
ก็ได้ บริษัทนี้ต้องการคนที่ขยันท�างาน” แต่ถ้าคนเยอรมัน
รู้สึกว่าตัวเองท�างานหนัก พวกเขามักหางานใหม่ทันที ไม่ฝืน
ท�างานที่เดิม
ในสมัยที่คุณเป็นนักศึกษา คุณให้ความส�าคัญกับการ
เรียนและการเที่ยวเล่นเป็นอันดับแรก หากมีเวลาเหลือค่อย
ท�างานพิเศษ ใช่ไหมครับ?
คุณน่าจะเคยใช้ชีวิตโดยไม่ได้มองว่าการท�างาน
เป็นทุกอย่างของชีวิตกันมาบ้าง แต่คนเยอรมันนั้นไม่ใช่คนที่
ท�างานแบบขอไปทีเช่นนี้
จากประสบการณ์ท�างานกับคนเยอรมันกว่า 20 ปี ผม
23
รู้สึกว่าคนเยอรมันจะไม่ท�างานมากเกินไป โดยพื้นฐานแล้ว
พวกเขาเป็นคนขยันและจะท�าสิ่งที่ได้รับมอบหมายจนส�าเร็จ
แต่จะไม่ฝืนก�าลังไปมากกว่านั้น
ผมเรียนรู้การท�างานแบบคนเยอรมันตั้งแต่วันแรกที่ไป
ท�างานในบริษัทเมทซเลอร์
พนักงานจะมาท�างานราว 9 โมง พนักงานที่มาหลัง 9
โมงก็ไม่ถูกต�าหนิ ซ�้ายังชงกาแฟตามสบาย คุยเล่นกับเพื่อน
ร่วมงานแล้วค่อยเริ่มท�างาน พอ 6 โมงกว่าๆ ทุกคนก็ร�่าลากัน
ว่า“เจอกันพรุ่งนี้”แล้วรีบกลับบ้านต่อให้มีคนท�างานล่วงเวลา
แต่พอสักทุ่มครึ่งก็ไม่มีใครอยู่ออฟฟิศแล้ว
ถ้าเป็นบริษัทญี่ปุ่น พนักงานใหม่ต้องมาท�างานก่อน
เวลาครึ่งชั่วโมง เพื่อท�าความสะอาดและเตรียมชงชา ส่วน
พนักงานที่ท�างานมานานก็มาก่อนเวลา 10 นาที เพื่อเตรียม
ความพร้อมก่อนเริ่มงานตอน9โมงถ้าใครมาท�างาน9โมงตรง
ถือว่าเป็นพนักงานที่ใช้ไม่ได้
ยิ่งไปกว่านั้นแม้ท�างานตัวเองเสร็จแล้วแต่ถ้าคนรอบข้าง
ยังนั่งท�างานกันอยู่ พนักงานก็ล�าบากใจที่ต้องกลับบ้านก่อน
ถ้าพนักงานใหม่ท�าท่าจะกลับบ้านพร้อมพูดว่า “ขออนุญาต
กลับก่อนครับ/ค่ะ” เขามักจะโดนต�าหนิว่า “เธอเนี่ย ท�าตัวไม่
สมกับเป็นคนท�างานเลยนะ”
24 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น
ถ้าเราท�างานล่วงเวลาจนดึกดื่นทุกวัน เราก็จะอ่อนล้า
ส่งผลต่อประสิทธิภาพการท�างานในระยะยาว
คนเยอรมันจะไม่ทํางานมากเกินไป
โดยพื้นฐานแล้วพวกเขาเป็นคนขยัน
และจะทําสิ่งที่ได้รับมอบหมายจนสําเร็จ
แต่จะไม่ฝืนกําลังไปมากกว่านั้น
25
คนเยอรมันให้ความสําคัญกับ “ประสิทธิภาพ
การทํางาน”
บริษัทซูเปอร์มาร์เก็ตห้างสรรพสินค้าร้านอาหารและ
ร้านขายยาในเยอรมนีจะปิดในวันอาทิตย์กับวันหยุดนักขัตฤกษ์
คนญี่ปุ่นที่เดินทางมาที่นี่ต้องเคยคิดว่า “แม้ร้านอาหารจะ
ไม่เปิดซูเปอร์มาร์เก็ตก็คงเปิดสักร้านแหละ”แต่พอเห็นว่าทุก
ร้านปิดจริงๆ ก็คงท�าอะไรไม่ถูก
ในวันเสาร์ ผู้คนออกมาจับจ่ายซื้อของเต็มไปหมด แต่
พอวันอาทิตย์ ทั่วทั้งเมืองกลับเงียบเหงา ครั้งแรกที่ผมเห็น
ความแตกต่างนี้ก็รู้สึกประหลาดใจมาก
ประเทศเยอรมนีมีกฎหมายเป็นเอกลักษณ์ เช่น
กฎหมายการปิดร้านค้า ซึ่งห้ามเปิดวันอาทิตย์และวันหยุด
นักขัตฤกษ์ เป็นต้น
กฎหมายการปิดร้านค้าเริ่มบังคับใช้ตั้งแต่ปี 1957
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนในปี 1996 รัฐบาลก�าหนดเวลา
ปิดร้านชัดเจนยิ่งขึ้นคือวันจันทร์ถึงวันศุกร์ให้ปิดร้าน6โมงครึ่ง
และวันเสาร์ให้ปิดร้านบ่าย 2 โมง
กฎหมายนี้ถูกปรับปรุงเรื่อยมาจนตอนนี้มีซูเปอร์มาร์เก็ต
26 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น
ที่เปิดให้บริการถึงเที่ยงคืนอยู่ส่วนหนึ่ง ร้านค้าในสนามบิน
สถานีรถไฟรวมถึงปั๊มน�้ามันก็เปิดให้บริการนอกเหนือวันเวลา
ที่กฎหมายก�าหนดบ้าง แต่ผมยังไม่เคยเห็นร้านสะดวกซื้อ
ที่เปิด 24 ชั่วโมงเลย
คนญี่ปุ่นคงมองว่า“วันอาทิตย์คือวันท�าเงินของร้านค้า
น่าเสียดายถ้าต้องปิดร้าน”หรือ“แม้จะเป็นช่วงดึกแต่ลูกค้าก็
ยังอยากซื้อของอยู่นะ”
ร้านค้าญี่ปุ่นที่เปิดเกินเที่ยงคืนมักเขียนค�าโฆษณาว่า
“เปิดถึง 25 นาฬิกาหรือ 26 นาฬิกา” นี่เป็นส�านวนญี่ปุ่นที่มี
เอกลักษณ์เฉพาะตัวชาวต่างประเทศที่มาเห็นต่างพากันงงว่า
“มันหมายความว่าอะไร?”
คุณคงคิดว่าร้านค้าที่เปิด 365 วัน ตลอด 24 ชั่วโมง
คงกวาดรายได้อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วยแต่จริงๆแล้วมีร้านค้า
ไม่น้อยที่เปิดโดยไม่จ�าเป็น
ร้านข้าวหน้าเนื้อสุคิยะจะให้พนักงานเฝ้าร้านกลางดึก
คนเดียวร้านจึงตกเป็นเป้าของการโจรกรรมบางครั้งพนักงาน
ก็ทิ้งร้านไปเพราะทนงานหนักไม่ไหว สุดท้ายร้านสุคิยะบาง
สาขาก็ต้องปิดตัวลงและชื่อเสียงก็ตกฮวบ นอกจากจะไม่ได้
ก�าไรแล้ว บริษัทยังเสียหายด้วย
คุณเองก็คงเคยมีประสบการณ์ท�าสิ่งที่ไม่จ�าเป็นมาบ้าง
27
เช่น วันนี้ตัดสินใจว่าจะท�างาน 10 อย่าง แต่พอตกเย็น อยู่ๆ
หัวหน้าก็เดินมาบอกว่า“ขอโทษนะช่วยท�าเอกสารที่ต้องใช้ใน
การประชุมวันพรุ่งนี้หน่อยได้ไหม” งานของคุณก็เพิ่มขึ้นทันที
ถ้าเจอเหตุการณ์นี้ คนญี่ปุ่นจะเพิ่มงานด่วนนั้นเข้าไป
ในงาน10อย่างบางคนท�างานล่วงเวลาเพื่อท�างานให้เสร็จคน
ญี่ปุ่นมีความรับผิดชอบต่องาน แต่บางครั้งก็ให้ความส�าคัญ
กับงานมากเกินไปจนชีวิตขาดสมดุล
ส่วนคนเยอรมันถ้าเจอเหตุการณ์นี้พวกเขาจะให้ความ
ส�าคัญกับงานที่ถูกก�าหนดมาแล้วก่อน ส่วนงานที่ส�าคัญรอง
ลงมาจะเลื่อนไปท�าวันรุ่งขึ้นถ้าท�าไม่ได้จริงๆค่อยท�างานล่วง
เวลา แต่ส่วนใหญ่พวกเขาจะไม่เลือกวิธีนั้น
คนเยอรมันจะขอเลื่อนงานออกไปอย่างไม่เกรงกลัว
เพราะพวกเขาจะไม่ยอมสละเวลาส่วนตัว พวกเขาสร้าง
สมดุลชีวิตโดยให้ความส�าคัญกับชีวิตมากกว่างาน
บางคนอาจคิดว่า “ถ้าเลื่อนงานออกไป วันพรุ่งนี้ก็
ต้องมีงานเพิ่มขึ้นและยิ่งเหนื่อยมากกว่าเดิม” หลายคนคง
ตรากตร�ากับงานในแต่ละวัน ความคิดเลื่อนงานออกไปจึง
เป็นการท�างานแบบผ่อนสั้นผ่อนยาวเพื่อลดปริมาณงานแบบ
คนเยอรมันและน่าจะเป็นเคล็ดลับในการท�างานที่เหมาะกับ
คนเหล่านั้น
28 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น
คนเยอรมันยังมองว่างานด่วนตอนเย็นคือปัญหา
พวกเขาจึงคิดวิธีป้องกันและเพิ่มประสิทธิภาพการท�างาน
แทนการเพิ่มเวลาท�างาน ทุกวันนี้ผมเห็นเพื่อนร่วมงาน
คนเยอรมันท�างานอย่างยืดหยุ่นและจัดล�าดับความส�าคัญ
อย่างคล่องแคล่ว
ปัจจุบันอีเมลกลายเป็นเครื่องมือในการท�างานอย่างหนึ่ง
มันจะมาหาเราโดยไม่เลือกเวลาและสถานที่มีคนญี่ปุ่นจ�านวน
ไม่น้อยที่ต้องตอบอีเมลในวันหยุด
โฟล์กสวาเกน บริษัทรถยนต์ชื่อดังของเยอรมนีจะแจก
สมาร์ทโฟนของบริษัทให้พนักงาน เมื่อเลยเวลาท�างาน ระบบ
จะถูกตั้งค่าไว้ไม่ให้พนักงานเปิดเช็คอีเมล นอกจากนี้ อีเมล
ที่พนักงานได้รับในวันหยุดจะถูกลบโดยอัตโนมัติ
คนเยอรมันมุ่งมั่นกับการสร้าง “ระบบไม่ท�างาน
วันหยุด” ดังนั้นถ้ามีงานหรือปัญหาเข้ามาในวันหยุด ก็จะเกิด
ปัญหาลุกลามใหญ่โตแต่โฟล์กสวาเกนไม่เคยเจอปัญหาเหล่า
นั้น พวกเขาจึงใช้ระบบนี้ต่อไป
สุดท้าย “งานที่ต้องท�าทันที” ก็ไม่เคยด่วนขนาดนั้น ถ้า
เป็นงานที่ชี้เป็นชี้ตายก็อีกเรื่องหนึ่ง แต่งานนอกเหนือจากนั้น
เอาไว้ท�าพรุ่งนี้เช้าก็ได้
เมื่อคนญี่ปุ่นได้รับมอบหมายงานจนล้นมือ เราก็จะ
29
พยายามท�าให้เสร็จแต่ปริมาณงานที่หนึ่งคนรับไหวมีขีดจ�ากัด
ดังนั้นการคิดวิธีเพิ่มประสิทธิภาพการท�างานย่อมดีกว่าการ
เพิ่มเวลาท�างาน
คนเยอรมันจะให้ความสําคัญกับ
งานที่ถูกกําหนดมาแล้วก่อน
ส่วนงานที่สําคัญรองลงมา
จะเลื่อนไปทําวันรุ่งขึ้น
ถ้าทําไม่ได้จริงๆ ค่อยทํางานล่วงเวลา
30 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น
แนวคิด “คนอื่นก็คือคนอื่น ฉันก็คือฉัน”
ผมขอเล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นสมัยช่วงทศวรรษ 1980
ผมเพิ่งย้ายมาท�างานที่เยอรมนี ตอนนั้นผมท�างานที่ธนาคาร
โตเกียว สาขาเยอรมนี ชั่วโมงท�างานจึงยาวนานเช่นเดียวกับ
ธนาคารที่ญี่ปุ่นการท�างานตั้งแต่เช้ายันดึกติดต่อกันหลายวัน
เป็นเรื่องปกติ
เช้าวันหนึ่งพนักงานส่งกาแฟสาวผิวแทนทักทายผมว่า
“อรุณสวัสดิ์นี่กาแฟค่ะ”แล้วเธอก็ยื่นกาแฟให้พร้อมกับฉีกยิ้ม
กว้าง พอถามเหตุผลที่ผิวเปลี่ยนเป็นสีแทน เธอก็ตอบอย่างมี
ความสุขว่า “ลาพักร้อนไปเที่ยวมาค่ะ”
ผมมองเธอแล้วรู้สึกว่าตัวเองไม่มีแก่นสารพลางคิดว่า
“ผมมัวท�าอะไรอยู่”
ประเทศเยอรมนีสมัยนั้น มีคนส่งกาแฟตามออฟฟิศ
เป็นอาชีพ คนที่ท�าอาชีพนี้ส่วนใหญ่เป็นผู้อพยพ งานของ
พวกเขามีแค่ส่งกาแฟซึ่งใช้เวลาตอนเช้าประมาณ 1 ชั่วโมงก็
เสร็จงาน จากนั้นพวกเขาอาจไปส่งกาแฟที่ออฟฟิศอื่น
งานแบบนี้ไม่น่าเป็นงานที่ได้ค่าจ้างสูงแน่ๆแต่พนักงาน
ส่งกาแฟสาวคนนี้ยังลาพักร้อน 3 สัปดาห์เพื่อไปเที่ยวทะเล
31
เธอส่งกาแฟทุกวันอย่างมีความสุขพลางพูดคุยยิ้มแย้มกับ
พนักงานอย่างเป็นกันเอง
ส่วนตัวผมท�างานแทบจะ24ชั่วโมงผมได้หยุดยาวแค่
ช่วงเทศกาลเซ่นไหว้บรรพบุรุษ ช่วงสิ้นปี และช่วงโกลเด้นวีค
เหมือนกับคนที่อยู่ญี่ปุ่น ผมไม่สดชื่นพอที่จะยิ้มแย้มตอนเช้า
ผมคิดว่าตัวเองมีชีวิตที่พรั่งพร้อมกว่า แต่กลับรู้สึกว่าเธอมี
ความสุขมากกว่าเยอะ ท�าไมเป็นเช่นนี้?
ผมเริ่มสนใจประเทศเยอรมนีและคนเยอรมันตั้งแต่
ตอนนั้น
ภาษาอังกฤษมีค�าเรียกอาการแบบนี้ว่า “Another
Planet (ดาวอื่น)” ส่วนภาษาเยอรมันก็เรียกอาการแบบนี้ว่า
“Sie lebt in ihrer eigenen Welt (เธอหมกตัวอยู่ในโลกของ
ตัวเอง)”
คนเยอรมันใช้ส�านวนนี้เพื่อบอกว่า“คนคนนั้นอยู่ดาวอื่น”
โดยแฝงความหมายว่า“คนคนนั้นมีความคิดแตกต่างกับตัวเอง”
แต่ไม่ได้ดูถูกอีกฝ่ายหนึ่ง
คนเยอรมันมีแนวคิดฝังลึกว่า “คนอื่นก็คือคนอื่น
ฉันก็คือฉัน”พวกเขาจึงรู้สึกภาคภูมิใจกับชีวิตของตัวเองแม้จะ
ท�างานส่งกาแฟ แต่ก็หยิ่งในศักดิ์ศรี
แม้คนเยอรมันจะได้รับบริการแย่ๆ ในคาเฟ่ราคาถูก
32 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น
พวกเขาก็ไม่ปริปากบ่น แต่จะคิดแค่ว่าได้รับบริการที่สมน�้า
สมเนื้อกับเงินที่จ่ายไป ถ้าอยากได้รับบริการที่ดี ก็ควรไปร้าน
อาหารหรูๆ
ถ้าคนญี่ปุ่นมีแนวคิดว่า“คนอื่นก็คือคนอื่นฉันก็คือฉัน”
คงอดกังวลไม่ได้ว่าคนอื่นจะคิดกับตัวเองอย่างไรแถมตัวเองก็
ถูกบังคับให้ยอมรับคนอื่นไปด้วย
อีกเรื่องที่ผมประหลาดใจมากตอนเข้ามาท�างานใน
บริษัทเมทซเลอร์คือ แต่ละคนพูดคนละภาษาเลย ประเทศ
เยอรมนีไม่มีภาษากลาง ภาษาถิ่นของคนแต่ละภูมิภาคจึง
แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง
โรงเรียนสอนภาษาเยอรมันที่ญี่ปุ่นค่อนข้างมั่นใจว่า
ภาษาเยอรมันที่ตัวเองสอนเป็นภาษากลาง แต่จริงๆ แล้วเป็น
ภาษาที่ใช้กันในเมืองฮันโนเวอร์ ส่วนกรุงเบอร์ลิน เมืองหลวง
ของเยอรมนีก็มีภาษาถิ่นถ้าเปรียบเทียบกับญี่ปุ่นก็คือเราพูด
ภาษาฮอกไกโดภาษาโอกินาวะภาษาคันไซและภาษานาโงยะ
ใส่กัน ดังนั้นช่วงที่ผมมาท�างานใหม่ๆ ผมจึงฟังไม่รู้เรื่องเลย
ว่าคนเยอรมันพูดอะไรกันในที่ประชุม
คนญี่ปุ่นที่เกิดและเติบโตในภูมิภาคอื่นเมื่อมาอยู่
โตเกียวก็ต้องพูดภาษากลางเพราะเจ้าตัวอายที่จะพูดภาษาถิ่น
เลยพยายามเปลี่ยนมาพูดภาษากลาง ร้านค้าในโตเกียวยัง
33
บังคับให้พนักงานพูดภาษากลางด้วย แต่คนเยอรมันไม่มี
แนวคิดเรื่องภาษากลางตั้งแต่แรกแล้ว
ถ้าลองวิเคราะห์เรื่องภาษากลางให้ลึกขึ้น จะพบว่า
คนญี่ปุ่นยอมรับแค่คนที่อยู่ดาวดวงเดียวกับตัวเองและ
ไม่มีแนวคิด“คนอื่นก็คือคนอื่นฉันก็คือฉัน” เราใส่ใจภาพลักษณ์
เราจึงพยายามปรับตัวเองให้เข้ากับสังคม ซึ่งอาจเรียกว่า
เราไม่มีจุดยืนและมัวแต่คิดหาทางท�าตัวเองให้เหมือนคนอื่น
เมื่อความคิดนี้รุนแรงขึ้นก็จะส่งผลให้เกิดสิ่งที่เรียกว่า
“อิทธิพลของคนรอบข้ำง” เวลาเราโดนสั่งให้ท�าตามคนที่
อยู่ทางขวาทุกคนก็ต้องท�าตามถ้าคนอื่นท�างานล่วงเวลาตัวเอง
จะกลับบ้านตรงเวลาอยู่คนเดียวไม่ได้ นี่คืออิทธิพลของคน
รอบข้าง
คุณจะหลุดพ้นจากอิทธิพลของคนรอบข้างก็ต่อเมื่อ
คุณอยากใช้ชีวิตในแบบของตัวเอง ไม่ต้องใส่ใจชีวิตคนอื่น
คุณจะเอาอย่างการใช้ชีวิตของคนเยอรมันก็ได้
ต่อไปเมื่อคุณคิดเรื่องงาน คุณควรคิดเรื่อง “ชีวิตของ
ตัวเอง”ควบคู่ไปด้วยถ้าคุณเพิ่มProductivityโดยยังรักษาเวลา
ของตัวเองได้ ก็แสดงว่าคุณให้ความส�าคัญกับชีวิตมากขึ้น
ตั้งแต่บทหน้าเป็นต้นไป ผมจะอธิบาย 5 เคล็ดลับเพื่อ
ใช้ชีวิตในแบบของตัวเองให้คุณฟัง
แนวคิดพื้นฐาน
意識
1
บทที่
36 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น
ทําไมสถานีรถไฟที่เยอรมนีมีเสียงประกาศ
น้อย?
ตอนที่ผมใช้บริการสถานีรถไฟครั้งแรกที่ประเทศ
เยอรมนี ผมแปลกใจที่ไม่เห็นช่องตรวจตั๋วเหมือนญี่ปุ่นซึ่ง
ผมเคยชินมากว่า 20 ปี ผมเดินๆ อยู่ก็เข้ามาในชานชาลาเฉย
เลย พอมองรอบตัวด้วยความสงสัยว่าช่องตรวจตั๋วอยู่ที่ไหน
ผมก็หาไม่เจอสักที
ที่เยอรมนีมีเจ้าหน้าที่คอยสุ่มตรวจตั๋วโดยสารบนรถไฟ
แทนการใช้ช่องตรวจตั๋วอัตโนมัติ เจ้าหน้าที่จะท�างานกันเป็น
กลุ่ม 2-3 คนและมีผู้หญิงด้วย พวกเขาแต่งตัวธรรมดาไม่ได้
สวมเครื่องแบบจึงไม่มีใครรู้ว่าเป็นเจ้าหน้าที่
ส่วนที่ญี่ปุ่น ถ้าผู้โดยสารไม่ได้ซื้อตั๋ว เขาสามารถไป
จ่ายที่ปลายทางได้แต่ถ้าเป็นที่เยอรมนีเมื่อเจ้าหน้าที่มาตรวจ
ตั๋วแล้วพบว่ามีผู้โดยสารที่ไม่ซื้อตั๋วขึ้นมาบนรถไฟ เจ้าหน้าที่
37บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐาน
จะไม่รับฟังเหตุผลใดๆ และเขียนใบสั่งทันที ในบางครั้งคน
คนนั้นต้องจ่ายค่าปรับเป็นเงินราว60ยูโร(ประมาณ2,000บาท)
ประเทศเยอรมันมีระบบตรวจตั๋วที่มีประสิทธิภาพโดยไม่ต้อง
ติดตั้งอุปกรณ์ซึ่งใหญ่เทอะทะอย่างช่องตรวจตั๋วเลย
ที่ญี่ปุ่น ตอนรถไฟแล่นเข้ามาในชานชาลา เราจะได้ยิน
เสียงประกาศซ�้าๆว่า“กรุณายืนอยู่หลังเส้นสีขาว”และ “ประตู
จะปิดหลังเสียงสัญญาณ” แต่ที่เยอรมนีไม่มีเสียงประกาศ
แบบนี้เลย
ขนาดเสียงประกาศว่า“กรุณาระวังประตูก�าลังจะปิด”
ก็ไม่มี พอผู้โดยสารเข้ามาในตู้โดยสารแล้วประตูจะปิดทันที
ผมจึงกังวลว่าตัวเองมาทันรถไฟขบวนนี้จริงๆ หรือเปล่า
รถไฟของเยอรมนีมาถึงที่หมายช้าเป็นเรื่องปกติถึงขนาด
ว่าวันไหนที่รถไฟออกตรงเวลา คนต้องแปลกใจ เวลาที่รถไฟ
เปลี่ยนชานชาลาจะมีเสียงประกาศตามปกติ แต่พวกเขาชอบ
ใช้น�้าเสียงเหมือนหุ่นยนต์ ถ้าคุณไม่ชินกับภาษาเยอรมัน
คุณจะฟังไม่ค่อยรู้เรื่อง ผมไม่เคยได้ยินเสียงประกาศภาษา
อังกฤษเลยด้วยซ�้าสมัยที่เพิ่งมาอยู่ใหม่ๆผมงงเป็นไก่ตาแตก
รู้ตัวอีกที รถไฟที่จะขึ้นก็ออกไปแล้ว
ถ้าคุณฟังเสียงประกาศไม่ออกคุณต้องไปถามพนักงาน
สถานีเอาเอง สมัยนี้พนักงานสถานีส่วนใหญ่พูดอังกฤษได้
38 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น
แต่สมัยนั้นแทบไม่พูดอังกฤษเลย ผมต้องใช้ความกล้าถาม
เขาไปด้วยภาษาเยอรมันแบบงูๆปลาๆผมถึงรู้ว่าการเป็นฝ่าย
เข้าไปถามหรือชวนคุยนั้นส�าคัญขนาดไหน
ผมไม่ค่อยเห็นคนเยอรมันเข้าแถวขึ้นรถไฟ เพราะ
ที่ชานชาลาไม่ได้มีคนล้นทะลักเหมือนที่ญี่ปุ่น คนจะขึ้นจะลง
ได้อย่างอิสระและราบรื่นผมเห็นคนเยอรมันเปิดทางให้ผู้หญิง
เด็ก และผู้สูงอายุขึ้นรถไฟก่อนอยู่บ่อยๆ พวกเขาไม่ได้ปฏิบัติ
ตามกฎอย่างเคร่งครัด แต่พวกเขารู้จักยืดหยุ่นและเป็นอิสระ
จึงไม่ชวนให้รู้สึกเครียด
นอกจากนี้รถไฟที่เยอรมนีแทบไม่เคยจอดตรงจุดพอดี
เหมือนที่ญี่ปุ่น คนต่างชาติที่มาญี่ปุ่นต่างประทับใจที่รถไฟ
จอดได้อย่างแม่นย�าถ้าพวกเขาเคยสัมผัสความไม่ประณีตของ
รถไฟเยอรมนี หรือรถไฟฝรั่งเศสซึ่งบางครั้งประตูเปิดก่อนจะ
จอดเสียอีกพวกเขาก็จะยิ่งประทับใจมากขึ้นรถไฟญี่ปุ่นจึงขึ้น
ชื่อเรื่องความปลอดภัยและมีเทคนิคการขับที่ยอดเยี่ยมจริงๆ
ทว่าพอกลับมาขึ้นรถไฟที่ญี่ปุ่นผมรู้สึกละเหี่ยใจอย่าง
ประหลาด เพราะสถานีรถไฟนั้นเสียงดังมาก มีเสียงประกาศ
ไม่หยุดขนาดเข้าไปในตู้โดยสารแล้วก็ยังมีเสียงประกาศ
อยู่เรื่อยๆรถไฟออกช้าแค่ 2-3 นาทีก็ประกาศขอโทษซ�้าแล้ว
ซ�้าเล่า
39บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐาน
ยิ่งไปกว่านั้น ภายในสถานีรถไฟและภายในตู้โดยสาร
ยังติดโปสเตอร์รณรงค์มารยาทเต็มไปหมด เช่น “กรุณาเดิน
เข้าไปข้างใน ไม่ยืนขวางประตู” “กรุณาสะพายกระเป๋าเป้
ไว้ข้างหน้า” ฯลฯ ผมจึงรู้สึกว่าสถานีรถไฟญี่ปุ่นเป็นแหล่ง
บ่มเพาะให้เรามีสภาพสังคมปิดกั้น
การประกาศซ�้าๆ คงเกิดจากแนวคิดของบริษัทรถไฟ
ญี่ปุ่นว่า “ถ้าเกิดเรื่องอะไรขึ้น ตัวเองจะเดือดร้อน” บริษัท
รถไฟญี่ปุ่นจึงมีท่าทีหลบเลี่ยงความรับผิดชอบมากกว่าความ
เอาใจใส่
ผู้โดยสารสามารถโทรศัพท์บนรถไฟที่เยอรมนีได้เลย
โดยไม่มีใครว่า ถึงจะวางของบนที่นั่งก็ไม่มีใครโกรธ ถ้าใคร
อยากนั่งตรงนั้น ก็แค่พูดออกมา แล้วคนเยอรมันจะหยิบ
ของออกให้ทันที แต่ถ้าคุณเผลอไปนั่งที่นั่งส�ารองในรถไฟ
ด่วนพิเศษที่ญี่ปุ่น พอเจ้าของที่นั่งมาเห็นก็จะท�าหน้าบึ้งตึง
ไม่พอใจ กลับกันถ้าเป็นที่เยอรมนี คุณแค่ลุกออกไปก็จบเรื่อง
คนเยอรมันก็มีมารยาทเหมือนกัน แต่มารยาทไม่ใช่
กฎหมายจึงไม่ใช่สิ่งที่ต้องบังคับกัน พวกเขามีมารยาทแต่ก็
รู้จักยืดหยุ่น ส่วนคนญี่ปุ่นถูกบังคับให้มีมารยาทเหมือนโดน
บังคับเป็นกฎหมาย จึงรู้สึกอึดอัดมากเกินไป
คนญี่ปุ่นสร้างกฎระเบียบไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ เรา
40 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น
สร้างกฎระเบียบแล้วก็แค่ปฏิบัติตาม พอปฏิบัติตามแล้วก็
สบายใจ แต่เราไม่เคยพูดคุยกันเลยว่า กฎนี้เข้ากับสภาพ
สังคมหรือไม่? ท�าไมต้องสร้างกฎนี้ขึ้นมา? กฏนี้เปลี่ยนแปลง
หรือยกเลิกได้หรือไม่?
เมื่อใดที่เราปฏิบัติตามกฎระเบียบ เราจะหยุดใช้
ความคิด เราจะหยุดตั้งถามกับสิ่งรอบตัว เช่น เสียงประกาศ
ในสถานีรถไฟมีความจ�าเป็นมากน้อยแค่ไหน? เราต้องมอง
คนเสียมารยาทด้วยหางตาหรือไม่?
ผมฝึกคิดด้วยการตั้งข้อสงสัยแบบนี้จนเป็นนิสัย ถ้า
คุณไม่เปลี่ยนความคิดคุณไม่มีทางเปลี่ยนชีวิตและการท�างาน
ได้ซึ่งเนื้อหาในบทที่1นี้จะช่วยให้คุณออกจากกรอบความคิด
เดิมๆ พวกนี้
41บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐาน
ใช้ชีวิตในแบบของตัวเอง
เพื่อนร่วมงานของผมที่บริษัทเมทซเลอร์ต่างมีรูปแบบ
การท�างานที่แตกต่างกันไป บางคนท�างานเต็มเวลา บางคน
ท�างานถึงแค่บ่ายสามโมงก็กลับบ้านบางคนหยุดสัปดาห์ละ3วัน
บางคนมีลูกเล็กจึงท�างานที่บ้านแทบไม่โผล่มาที่บริษัท ผู้ชาย
ที่ขอลาไปเลี้ยงลูกก็มี ยิ่งไปกว่านั้น ผู้หญิงที่หยุดสัปดาห์
ละ 3 วัน เธอเป็นถึงหัวหน้าทีม
ผมท�างานในสภาพแวดล้อมแบบนี้ไประยะหนึ่งก็เรียนรู้
ว่า “กำรท�ำงำนไม่ได้มีเพียงรูปแบบเดียว” คนเยอรมัน
ยืดหยุ่นกับการท�างานค่อนข้างมาก พวกเขาขอแค่ท�างานที่
ได้รับมอบหมายให้ส�าเร็จก็พอ
ส่วนคนญี่ปุ่นจะไม่คิดแบบนี้ผมเคยได้ยินบ่อยๆว่าผู้หญิง
ที่กลับมาท�างานหลังจากลาคลอด พอกลับบ้านเร็วติดๆ กัน
โดยให้เหตุผลว่า“ต้องไปรับลูก”ก็จะโดนเพื่อนร่วมงานมองด้วย
สายตาเย็นชา แม้บริษัทจะอนุญาตให้กลับบ้านตอนสี่โมงได้
เธอก็ยังเกรงใจเพื่อนร่วมงานจนไม่อยากกลับบ้านก่อน นี่คง
เป็นเพราะอิทธิพลของคนรอบข้างอีกเช่นเคย
ถ้าเป็นในบริษัทเยอรมัน แม้พนักงานจะกลับบ้านเร็ว
42 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น
หรือท�างานอยู่บ้านก็ไม่มีใครคิดว่า“เขาขี้โกง”เพราะว่าพนักงาน
เป็นบุคลากรของบริษัท เขาจะท�างานแบบไหนก็เรื่องของเขา
ตราบใดที่เขาท�างานเก่ง ไม่ว่าจะท�างานแบบไหนเขาก็เป็น
หัวหน้าได้
บริษัทญี่ปุ่นหลังจากนี้คงจะมีพนักงานผู้หญิงมากขึ้น
และจ้างคนต่างชาติเพิ่มขึ้นภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ ดังนั้น
เราก็ควรค่อยๆ ยอมรับรูปแบบการท�างานที่หลากหลายด้วย
คนเยอรมันยอมรับรูปแบบการท�างานอันหลากหลายได้
เพราะพวกเขาคิดว่า “คนอื่นก็คือคนอื่น ฉันก็คือฉัน”
ซึ่งสื่อถึงการใช้ชีวิตในแบบของตัวเอง
เมื่อคุณให้ความส�าคัญกับชีวิตตัวเองเป็นอันดับแรก
คุณจะมองเรื่องการท�างานอย่างเป็นกลาง ก่อนตัดสินใจ
ท�างาน คุณควรคิดว่า “งานนั้นเป็นสิ่งที่ตัวเองสมควรท�าจริงๆ
หรือไม่” อย่าให้ความส�าคัญกับงานเป็นอันดับแรกโดยไม่มี
ปากไม่มีเสียง
ค�าว่า“ชีวิต”ส�าหรับคนเยอรมันไม่ใช่สภาพความเป็นอยู่
โดยทั่วไปแต่มีค่าเทียบเท่ากับครอบครัวพวกเขาให้ความส�าคัญ
กับการใช้เวลาร่วมกับครอบครัวหรือหุ้นส่วนชีวิตมากที่สุด
ชีวิตต้องมาก่อนงาน
คู่สามีภรรยาชาวเยอรมันจะแบ่งหน้าที่กันไปรับส่งลูก

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Πετρέλαιο - Από το υπέδαφος στο σπίτι μας
Πετρέλαιο - Από το υπέδαφος στο σπίτι μαςΠετρέλαιο - Από το υπέδαφος στο σπίτι μας
Πετρέλαιο - Από το υπέδαφος στο σπίτι μαςDimitra Mylonaki
 
διαβιβαστικό και ερωτηματολόγιο
διαβιβαστικό και ερωτηματολόγιοδιαβιβαστικό και ερωτηματολόγιο
διαβιβαστικό και ερωτηματολόγιοdakekavalas
 
Lanseringsplan
LanseringsplanLanseringsplan
LanseringsplanAnne Hoel
 
ΝΗΣΙΩΤΙΚΑ ΣΥΜΠΛΕΓΜΑΤΑ
ΝΗΣΙΩΤΙΚΑ ΣΥΜΠΛΕΓΜΑΤΑΝΗΣΙΩΤΙΚΑ ΣΥΜΠΛΕΓΜΑΤΑ
ΝΗΣΙΩΤΙΚΑ ΣΥΜΠΛΕΓΜΑΤΑNansy Tzg
 
Γλώσσα Δ΄ Επαναληπτικό 14ης Ενότητας
Γλώσσα Δ΄ Επαναληπτικό 14ης ΕνότηταςΓλώσσα Δ΄ Επαναληπτικό 14ης Ενότητας
Γλώσσα Δ΄ Επαναληπτικό 14ης ΕνότηταςΧρήστος Χαρμπής
 
Η θερμότητα διαδίδεται με ακτινοβολία
Η θερμότητα διαδίδεται με ακτινοβολίαΗ θερμότητα διαδίδεται με ακτινοβολία
Η θερμότητα διαδίδεται με ακτινοβολίαDimitra Mylonaki
 
Φυσική Ε΄ 9.2. ΄΄ Οι δυνάμεις ΄΄
Φυσική Ε΄ 9.2. ΄΄ Οι δυνάμεις ΄΄Φυσική Ε΄ 9.2. ΄΄ Οι δυνάμεις ΄΄
Φυσική Ε΄ 9.2. ΄΄ Οι δυνάμεις ΄΄Χρήστος Χαρμπής
 

La actualidad más candente (9)

Presentación Xorcom - Nordata
Presentación Xorcom - NordataPresentación Xorcom - Nordata
Presentación Xorcom - Nordata
 
Πετρέλαιο - Από το υπέδαφος στο σπίτι μας
Πετρέλαιο - Από το υπέδαφος στο σπίτι μαςΠετρέλαιο - Από το υπέδαφος στο σπίτι μας
Πετρέλαιο - Από το υπέδαφος στο σπίτι μας
 
διαβιβαστικό και ερωτηματολόγιο
διαβιβαστικό και ερωτηματολόγιοδιαβιβαστικό και ερωτηματολόγιο
διαβιβαστικό και ερωτηματολόγιο
 
Lanseringsplan
LanseringsplanLanseringsplan
Lanseringsplan
 
ΝΗΣΙΩΤΙΚΑ ΣΥΜΠΛΕΓΜΑΤΑ
ΝΗΣΙΩΤΙΚΑ ΣΥΜΠΛΕΓΜΑΤΑΝΗΣΙΩΤΙΚΑ ΣΥΜΠΛΕΓΜΑΤΑ
ΝΗΣΙΩΤΙΚΑ ΣΥΜΠΛΕΓΜΑΤΑ
 
κεφαλαιο 3
κεφαλαιο 3κεφαλαιο 3
κεφαλαιο 3
 
Γλώσσα Δ΄ Επαναληπτικό 14ης Ενότητας
Γλώσσα Δ΄ Επαναληπτικό 14ης ΕνότηταςΓλώσσα Δ΄ Επαναληπτικό 14ης Ενότητας
Γλώσσα Δ΄ Επαναληπτικό 14ης Ενότητας
 
Η θερμότητα διαδίδεται με ακτινοβολία
Η θερμότητα διαδίδεται με ακτινοβολίαΗ θερμότητα διαδίδεται με ακτινοβολία
Η θερμότητα διαδίδεται με ακτινοβολία
 
Φυσική Ε΄ 9.2. ΄΄ Οι δυνάμεις ΄΄
Φυσική Ε΄ 9.2. ΄΄ Οι δυνάμεις ΄΄Φυσική Ε΄ 9.2. ΄΄ Οι δυνάμεις ΄΄
Φυσική Ε΄ 9.2. ΄΄ Οι δυνάμεις ΄΄
 

Más de Piyapong Sirisutthanant

ตัวอย่างหนังสือ_พูดคุยอย่างไร ได้ทั้งใจ ได้ทั้งงาน.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_พูดคุยอย่างไร ได้ทั้งใจ ได้ทั้งงาน.pdfตัวอย่างหนังสือ_พูดคุยอย่างไร ได้ทั้งใจ ได้ทั้งงาน.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_พูดคุยอย่างไร ได้ทั้งใจ ได้ทั้งงาน.pdfPiyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่างหนังสือ_ฉันแข็งแกร่งพอที่จะเชื่อความคิดของตัวเอง.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_ฉันแข็งแกร่งพอที่จะเชื่อความคิดของตัวเอง.pdfตัวอย่างหนังสือ_ฉันแข็งแกร่งพอที่จะเชื่อความคิดของตัวเอง.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_ฉันแข็งแกร่งพอที่จะเชื่อความคิดของตัวเอง.pdfPiyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่างหนังสือ_ถกเถียงอย่างไร ให้เราเข้าใจกันมากกว่าเดิม.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_ถกเถียงอย่างไร ให้เราเข้าใจกันมากกว่าเดิม.pdfตัวอย่างหนังสือ_ถกเถียงอย่างไร ให้เราเข้าใจกันมากกว่าเดิม.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_ถกเถียงอย่างไร ให้เราเข้าใจกันมากกว่าเดิม.pdfPiyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่างหนังสือ_เพราะฉันแตกต่างจึงบริหารเวลาแบบนี้.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_เพราะฉันแตกต่างจึงบริหารเวลาแบบนี้.pdfตัวอย่างหนังสือ_เพราะฉันแตกต่างจึงบริหารเวลาแบบนี้.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_เพราะฉันแตกต่างจึงบริหารเวลาแบบนี้.pdfPiyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่างหนังสือ_เธอหรือฉันใครกันที่Toxic.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_เธอหรือฉันใครกันที่Toxic.pdfตัวอย่างหนังสือ_เธอหรือฉันใครกันที่Toxic.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_เธอหรือฉันใครกันที่Toxic.pdfPiyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่างหนังสือ_เก่งด้วยศาสตร์.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_เก่งด้วยศาสตร์.pdfตัวอย่างหนังสือ_เก่งด้วยศาสตร์.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_เก่งด้วยศาสตร์.pdfPiyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่างหนังสือ_ถ้าสอนงานแบบนี้.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_ถ้าสอนงานแบบนี้.pdfตัวอย่างหนังสือ_ถ้าสอนงานแบบนี้.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_ถ้าสอนงานแบบนี้.pdfPiyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่างหนังสือ_แค่มองให้เป็น.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_แค่มองให้เป็น.pdfตัวอย่างหนังสือ_แค่มองให้เป็น.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_แค่มองให้เป็น.pdfPiyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่างหนังสือ_คู่มือทำธุรกิจฉบับคนคิดสร้างสรรค์.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_คู่มือทำธุรกิจฉบับคนคิดสร้างสรรค์.pdfตัวอย่างหนังสือ_คู่มือทำธุรกิจฉบับคนคิดสร้างสรรค์.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_คู่มือทำธุรกิจฉบับคนคิดสร้างสรรค์.pdfPiyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่างหนังสือ_คิดอย่างไรไม่ให้คิดไปเอง.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_คิดอย่างไรไม่ให้คิดไปเอง.pdfตัวอย่างหนังสือ_คิดอย่างไรไม่ให้คิดไปเอง.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_คิดอย่างไรไม่ให้คิดไปเอง.pdfPiyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่างหนังสือ_Blitzscaling.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_Blitzscaling.pdfตัวอย่างหนังสือ_Blitzscaling.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_Blitzscaling.pdfPiyapong Sirisutthanant
 
ฉันหมด Passion หรือแค่ยังหามันไม่เจอ_Sample.pdf
ฉันหมด Passion หรือแค่ยังหามันไม่เจอ_Sample.pdfฉันหมด Passion หรือแค่ยังหามันไม่เจอ_Sample.pdf
ฉันหมด Passion หรือแค่ยังหามันไม่เจอ_Sample.pdfPiyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่าง หนังสือ คนเก่งคิดแบบนี้ไง พูดอะไรก็รู้เรื่อง
ตัวอย่าง หนังสือ คนเก่งคิดแบบนี้ไง พูดอะไรก็รู้เรื่องตัวอย่าง หนังสือ คนเก่งคิดแบบนี้ไง พูดอะไรก็รู้เรื่อง
ตัวอย่าง หนังสือ คนเก่งคิดแบบนี้ไง พูดอะไรก็รู้เรื่องPiyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่างหนังสือ อยากขายดี สตอรี่ต้องโดน Stories that stick
ตัวอย่างหนังสือ อยากขายดี สตอรี่ต้องโดน Stories that stickตัวอย่างหนังสือ อยากขายดี สตอรี่ต้องโดน Stories that stick
ตัวอย่างหนังสือ อยากขายดี สตอรี่ต้องโดน Stories that stickPiyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่างหนังสือ The Compound Effect
ตัวอย่างหนังสือ The Compound Effect ตัวอย่างหนังสือ The Compound Effect
ตัวอย่างหนังสือ The Compound Effect Piyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่างหนังสือ Everything is f*cked คู่มือแห่งความหวัง ในโลกสุดเฮงซวย
ตัวอย่างหนังสือ Everything is f*cked คู่มือแห่งความหวัง ในโลกสุดเฮงซวยตัวอย่างหนังสือ Everything is f*cked คู่มือแห่งความหวัง ในโลกสุดเฮงซวย
ตัวอย่างหนังสือ Everything is f*cked คู่มือแห่งความหวัง ในโลกสุดเฮงซวยPiyapong Sirisutthanant
 

Más de Piyapong Sirisutthanant (20)

ตัวอย่างหนังสือ_พูดคุยอย่างไร ได้ทั้งใจ ได้ทั้งงาน.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_พูดคุยอย่างไร ได้ทั้งใจ ได้ทั้งงาน.pdfตัวอย่างหนังสือ_พูดคุยอย่างไร ได้ทั้งใจ ได้ทั้งงาน.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_พูดคุยอย่างไร ได้ทั้งใจ ได้ทั้งงาน.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ_ฉันแข็งแกร่งพอที่จะเชื่อความคิดของตัวเอง.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_ฉันแข็งแกร่งพอที่จะเชื่อความคิดของตัวเอง.pdfตัวอย่างหนังสือ_ฉันแข็งแกร่งพอที่จะเชื่อความคิดของตัวเอง.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_ฉันแข็งแกร่งพอที่จะเชื่อความคิดของตัวเอง.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ_ถกเถียงอย่างไร ให้เราเข้าใจกันมากกว่าเดิม.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_ถกเถียงอย่างไร ให้เราเข้าใจกันมากกว่าเดิม.pdfตัวอย่างหนังสือ_ถกเถียงอย่างไร ให้เราเข้าใจกันมากกว่าเดิม.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_ถกเถียงอย่างไร ให้เราเข้าใจกันมากกว่าเดิม.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ_เพราะฉันแตกต่างจึงบริหารเวลาแบบนี้.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_เพราะฉันแตกต่างจึงบริหารเวลาแบบนี้.pdfตัวอย่างหนังสือ_เพราะฉันแตกต่างจึงบริหารเวลาแบบนี้.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_เพราะฉันแตกต่างจึงบริหารเวลาแบบนี้.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ_เธอหรือฉันใครกันที่Toxic.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_เธอหรือฉันใครกันที่Toxic.pdfตัวอย่างหนังสือ_เธอหรือฉันใครกันที่Toxic.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_เธอหรือฉันใครกันที่Toxic.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ_เก่งด้วยศาสตร์.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_เก่งด้วยศาสตร์.pdfตัวอย่างหนังสือ_เก่งด้วยศาสตร์.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_เก่งด้วยศาสตร์.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ_ถ้าสอนงานแบบนี้.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_ถ้าสอนงานแบบนี้.pdfตัวอย่างหนังสือ_ถ้าสอนงานแบบนี้.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_ถ้าสอนงานแบบนี้.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ_แค่มองให้เป็น.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_แค่มองให้เป็น.pdfตัวอย่างหนังสือ_แค่มองให้เป็น.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_แค่มองให้เป็น.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ_คู่มือทำธุรกิจฉบับคนคิดสร้างสรรค์.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_คู่มือทำธุรกิจฉบับคนคิดสร้างสรรค์.pdfตัวอย่างหนังสือ_คู่มือทำธุรกิจฉบับคนคิดสร้างสรรค์.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_คู่มือทำธุรกิจฉบับคนคิดสร้างสรรค์.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ_คิดอย่างไรไม่ให้คิดไปเอง.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_คิดอย่างไรไม่ให้คิดไปเอง.pdfตัวอย่างหนังสือ_คิดอย่างไรไม่ให้คิดไปเอง.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_คิดอย่างไรไม่ให้คิดไปเอง.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ_Blitzscaling.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_Blitzscaling.pdfตัวอย่างหนังสือ_Blitzscaling.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_Blitzscaling.pdf
 
ฉันหมด Passion หรือแค่ยังหามันไม่เจอ_Sample.pdf
ฉันหมด Passion หรือแค่ยังหามันไม่เจอ_Sample.pdfฉันหมด Passion หรือแค่ยังหามันไม่เจอ_Sample.pdf
ฉันหมด Passion หรือแค่ยังหามันไม่เจอ_Sample.pdf
 
AI 2041 ตัวอย่าง
AI 2041 ตัวอย่างAI 2041 ตัวอย่าง
AI 2041 ตัวอย่าง
 
LHTL_Sample.pdf
LHTL_Sample.pdfLHTL_Sample.pdf
LHTL_Sample.pdf
 
ตัวอย่าง หนังสือ คนเก่งคิดแบบนี้ไง พูดอะไรก็รู้เรื่อง
ตัวอย่าง หนังสือ คนเก่งคิดแบบนี้ไง พูดอะไรก็รู้เรื่องตัวอย่าง หนังสือ คนเก่งคิดแบบนี้ไง พูดอะไรก็รู้เรื่อง
ตัวอย่าง หนังสือ คนเก่งคิดแบบนี้ไง พูดอะไรก็รู้เรื่อง
 
ตัวอย่างหนังสือ อยากขายดี สตอรี่ต้องโดน Stories that stick
ตัวอย่างหนังสือ อยากขายดี สตอรี่ต้องโดน Stories that stickตัวอย่างหนังสือ อยากขายดี สตอรี่ต้องโดน Stories that stick
ตัวอย่างหนังสือ อยากขายดี สตอรี่ต้องโดน Stories that stick
 
ตัวอย่างหนังสือ The Compound Effect
ตัวอย่างหนังสือ The Compound Effect ตัวอย่างหนังสือ The Compound Effect
ตัวอย่างหนังสือ The Compound Effect
 
ตัวอย่างหนังสือ Everything is f*cked คู่มือแห่งความหวัง ในโลกสุดเฮงซวย
ตัวอย่างหนังสือ Everything is f*cked คู่มือแห่งความหวัง ในโลกสุดเฮงซวยตัวอย่างหนังสือ Everything is f*cked คู่มือแห่งความหวัง ในโลกสุดเฮงซวย
ตัวอย่างหนังสือ Everything is f*cked คู่มือแห่งความหวัง ในโลกสุดเฮงซวย
 
You canlearnanything sample
You canlearnanything sampleYou canlearnanything sample
You canlearnanything sample
 
Successful peopleact sample
Successful peopleact sampleSuccessful peopleact sample
Successful peopleact sample
 

ตัวอย่างหนังสือ Productivity คิดแบบเยอรมัน ลงมือทำแบบญี่ปุ่น

  • 2. PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือท�ำแบบญี่ปุ่น 仕事の「生産性」はドイツ人に学べ 「効率」が上がる、「休日」が増える SHIGOTO NO「SEISANSEI」WA DOITSUJIN NI MANABE「KORITSU」GA AGARU、「KYUJITSU」GA FUERU © Kan Sumita 2017 First published in Japan in 2017 by KADOKAWA CORPORATION, Tokyo. Thai translation rights arranged with KADOKAWA CORPORATION, Tokyo through JAPAN UNI AGENCY, INC., Tokyo. Thai language translation copyright © 2020 by Superposition Co., Ltd. All right reserved. เลขมำตรฐำนสำกลประจ�ำหนังสือ 978-616-8109-20-5 ผู้เขียน: Kan Sumita ผู้แปล: ทินภาส พาหะนิชย์ กองบรรณำธิกำร: จิรวรรณ วงค�าเสา, ปิยะพงษ์ ศิริสุทธานันท์, ธีร์ มีนสุข, ธีพร บรรจงเปลี่ยน ออกแบบปก: สิริกุล ราษฎร์ดุษดี จัดรูปเล่ม: อรณัญช์ สุขเกษม รำคำ 235 บำท จัดพิมพ์โดย ส�ำนักพิมพ์บิงโก ภายในเครือ บริษัท ซุปเปอร์โพซิชั่น จ�ากัด (Superposition Co., Ltd.) 18 ซอยดุลิยา ถนนกาญจนาภิเษก แขวงบางระมาด เขตตลิ่งชัน กทม. 10170 อีเมล superposition.books@gmail.com โทรศัพท์ 094-810-7272 เว็บไซต์ www.bingobook.co เฟซบุ๊ก www.facebook.com/bingobooks จัดจ�ำหน่ำยโดย บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ากัด (มหาชน) SE-EDUCATION Public Company Limited เลขที่ 1858/87-90 ถนนเทพรัตน แขวงบางนาใต้ เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทร. 0-2826-8000 โทรสาร 0-2826-8999 เว็บไซต์ www.se-ed.com พิมพ์ที่ P.R. Color Print โทรศัพท์ 02-806-6344 หากต้องการสั่งซื้อเป็นจ�านวนมาก กรุณาติดต่อรับส่วนลดได้ที่ บริษัท ซุปเปอร์โพซิชั่น จ�ากัด อีเมล superposition.books@gmail.com
  • 3. คํานํา ทําไมเราต้องเรียนรู้จากเยอรมนี? ผมเป็นคนญี่ปุ่นธรรมดาๆ เกิดที่เมืองเกียวโต ผมมี โอกาสได้ใช้ชีวิตอยู่ที่เยอรมนีและท�างานกับคนเยอรมันมา ตั้งแต่ปี 1985 รวมเวลาแล้วก็มากกว่า 20 ปี เยอรมนีใกล้เคียงญี่ปุ่นมาก ทั้งสองประเทศมีหลาย อย่างเหมือนกันเยอรมนีอยู่ห่างจากญี่ปุ่นตั้ง10,000กิโลเมตร แต่มีพื้นที่แทบจะเท่ากัน ถ้าพูดถึงตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวม ในประเทศ (GDP) ญี่ปุ่นอยู่อันดับ 3 ของโลก ส่วนเยอรมนี อยู่อันดับ 4 ทั้งสองประเทศเป็นผู้แพ้จากสงครามโลกครั้งที่ 2 ต้อง ตั้งต้นใหม่จากสภาพบ้านเมืองที่ถูกเผาราบเป็นหน้ากลอง และต้องพยายามอย่างสุดความสามารถจนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ได้ส�าเร็จตั้งแต่นั้นมาทั้งสองประเทศก็ยกระดับเศรษฐกิจจนมี เสถียรภาพ
  • 4. ทว่าความแตกต่างก็มีให้เห็นเช่นกัน ช่วงเวลากว่า20ปีที่ผมอยู่เยอรมนีผมรู้สึกว่าญี่ปุ่นกับ เยอรมนีแตกต่างกันมากขึ้นเรื่อยๆเพราะเยอรมนีแข็งแกร่งขึ้น ถ้าลองดูข้อมูลทางสถิติของทั้งสองประเทศคุณจะเข้าใจความ แตกต่างนั้นทันที ผมขอยกตัวอย่างข้อมูลชุดหนึ่งเพื่อเปรียบ เทียบให้เห็นภาพ จากการส�ารวจขององค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจ และการพัฒนา (OECD) พบว่าโดยเฉลี่ยแล้วคนเยอรมัน ท�างาน 1 ชั่วโมงได้ค่าตอบแทน 65.6 ดอลลาร์ ส่วนคนญี่ปุ่น ผลิตได้เพียง42.1ดอลลาร์(ข้อมูลในปี2015)สรุปง่ายๆก็คือ คนเยอรมันมีผลิตภาพหรือ Productivity สูงกว่าคนญี่ปุ่น ถึง 1.5 เท่า แล้วคนเยอรมันท�างานแบบไหนกัน? คุณอาจต้อง แปลกใจเมื่อรู้ข้อเท็จจริงที่ย้อนแย้งของคนเยอรมันดังนี้ •ลาพักร้อนได้ปีละ 5-6 สัปดาห์ •จ�ากัดการท�างานล่วงเวลาในแต่ละวัน •ถ้าท�างานที่รับผิดชอบในแต่ละวันเสร็จจะกลับบ้าน ทันทีเพื่อไปกินมื้อเย็นกับครอบครัว คนเยอรมันท�างานสบายขนาดนี้ แล้วท�าไมพวกเขามี Productivity สูงกว่า?
  • 5. เหตุผลแรกคือคนเยอรมันยืดหยุ่นมากกว่าคนญี่ปุ่น ถ้าคุณมองคนเยอรมันแบบมีอคติคงรู้สึกประหลาดใจกับ เหตุผลนี้ ความยืดหยุ่นในที่นี้ก็คือ “ความพอดี” มันคือท่าทีที่ ไม่ต้องการความสมบูรณ์แบบและตัดเรื่องหยุมหยิมออกไป ตัวอย่างเช่น คนเยอรมันมองว่ารถไฟตรงเวลาไม่ใช่ เรื่องธรรมดา พัสดุไปรษณีย์ส่งตรงเวลาก็ไม่ใช่เรื่องธรรมดา คนเยอรมันจะไม่ฝืนตัวเองเพื่อความสมบูรณ์แบบ ถ้าให้ผมยกตัวอย่างให้เห็นชัดๆ ก็คือ บางครั้งเราท�า ข้อสอบได้ 70 คะแนนก็พอแล้ว ไม่จ�าเป็นต้องตั้งเป้าหมาย ให้ได้เต็ม 100 ทุกครั้ง การผ่อนสั้นผ่อนยาวแบบนี้จึงช่วยให้ คนท�างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผมขอสรุปสั้นๆ จากประสบการณ์ท�างานที่เยอรมนีว่า กำรผ่อนสั้นผ่อนยำวคือเหตุผลที่เยอรมนีสร้ำงผลงำนได้ มำกกว่ำ ทั้งที่ชั่วโมงท�ำงำนน้อยกว่ำ ในปี2016รัฐบาลญี่ปุ่นชูแนวคิด“การปฏิรูปการท�างาน” เป็นมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างหนึ่งบริษัทต่างๆจึงหันมา ทบทวนวิธีท�างานทันทีบริษัทบางแห่งลองวิธีต่างๆเช่นก�าหนด วันไม่ท�างานล่วงเวลา ปิดไฟในที่ท�างานตอนสองทุ่ม อนุญาต ให้พนักงานท�างานทางไกล เป็นต้น ตัวพนักงานเองก็ต้อง ทบทวนวิธีท�างานเช่นกัน
  • 6. ถ้าคนญี่ปุ่นอยากเอาการท�างานของคนเยอรมันเป็น ต้นแบบ สิ่งที่ควรสนใจมากที่สุดก็คือ “แนวคิดทั่วไปของคน เยอรมัน” หนังสือเล่มนี้ไม่ได้น�าเสนอทฤษฎีความแตกต่างทาง วัฒนธรรมและไม่ได้ตั้งใจจะเชิดชูเยอรมนี ผมเพียงอยาก ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ส่วนตัวที่ผมพบเห็นมาเกี่ยว กับ“บริษัทและการท�างานของคนเยอรมันที่มีProductivityสูง” ผมเคยไปท�างานที่เมืองแฟรงก์เฟิร์ต 3 ครั้ง และเป็น พนักงานญี่ปุ่นคนแรกที่ได้ท�างานที่บริษัทเมทซเลอร์ กรุ๊ป ส�านักงานใหญ่ มาตั้งแต่ปี 2005 บริษัทนี้คอยให้ค�าปรึกษา ด้านการลงทุนในประเทศเยอรมนีมาอย่างยาวนานประสบการณ์ ท�างานกับคนเยอรมันช่วยให้ผมได้แง่คิดและแรงจูงใจ อันล�้าค่ามากมาย ผมเชื่อมั่นว่าคุณจะได้เรียนรู้เคล็ดลับ เหล่านั้นจากประสบการณ์ของผม หนังสือเล่มนี้อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับProductivityแยก เป็นบทๆ ดังนี้ •แนวคิดพื้นฐาน •วิธีสื่อสาร •วิธีบริหารเวลา
  • 8. บทนํา บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐาน • ท�าไมสถานีรถไฟที่เยอรมนีมีเสียงประกาศน้อย? • ใช้ชีวิตในแบบของตัวเอง • ความคิด “พึ่งพาตนเอง เป็นอิสระ” • เทคนิคหลุดพ้นจากอิทธิพลของคนรอบข้าง • ก่อนจะท�าตามคนอื่น ลองตั้งค�าถามดูบ้าง • ฉันควรให้ความส�าคัญกับอะไร? • คนเยอรมันเลือกทางเดินชีวิตตั้งแต่ 10 ขวบ • เด็กเยอรมันถูกปลูกฝังให้พึ่งพาตัวเอง • วิธีใช้เงินของคนญี่ปุ่นกับคนเยอรมัน • ทุ่มเทเงินและเวลาเพื่อพัฒนาระบบ 12 34 สารบัญ
  • 9. 80 124 บทที่ 2 วิธีสื่อสาร • แค่พูดอย่างไม่ลังเลก็เพิ่ม Productivity ได้ • ไม่ใช้ค�าว่า “ด่วนที่สุด” • คิดเสียว่าถามฟรี • เทคนิคเลิกเดาใจคน • ไม่ “โฮเร็นโซ” โดยเปล่าประโยชน์ •เมื่อท�าผิดต้องคิดว่า“ครั้งต่อไปจะท�าอย่างไร?” • หยุดเขียนอีเมลที่ถามไปเรื่อยไม่จบสิ้น • ไม่ประชุมแบบตัดสินใจไม่ได้ • สังสรรค์กับเพื่อนร่วมงานเพื่อให้งานราบรื่น •เสริมความแข็งแกร่งของการสื่อสารแนวนอน • พูดค�าที่เขาใช้กัน บทที่ 3 วิธีบริหารเวลา • เวลาสามารถบริหารได้ • ลองคิดว่า “การท�างานล่วงเวลาไม่ใช่สิ่งที่ดี” • อย่าเสียเวลาเขียนอีเมลนาน • วิธีใช้เวลาพักแบบคนเยอรมัน • เก็บออมชั่วโมงท�างานล่วงเวลา
  • 10. • เวลาเงียบสงบช่วยเพิ่ม Productivity • วิธีจัดล�าดับความส�าคัญของงานแบบคนเยอรมัน • เทคนิคก�าจัดสิ่งรบกวนสมาธิ • ใครๆ ก็ลาพักร้อนได้ บทที่ 4 การทํางานเป็นทีม • เพิ่มความฉับไวในการท�างาน • ส�านึกรับผิดชอบเรื่องงาน • บางเวลาต้องถ่ายโอนอ�านาจ • ยิ่งเป็นข้อมูลไม่ดี ยิ่งต้องเปิดรับ • รู้จักพลิกแพลงเวลาสั่งงาน • ครึ่งชีวิตคือการจัดระเบียบ • อย่าลังเลที่จะย้อนถามจนกว่าจะเข้าใจ • เลขาฯ คือเพื่อนร่วมรบ • ท�าไมคนเยอรมันชอบดื่มในบริษัทตอน5โมงเย็นวันศุกร์ • ผูกไมตรีกับลูกค้า บทที่ 5 การใช้ชีวิต • วิธีช่วยให้พนักงานลางานง่ายขึ้น 164 192
  • 11. • วางสมาร์ทโฟนแล้วไปเดินเล่นกัน • ครอบครัวมาเป็นที่หนึ่ง • จัดสภาพแวดล้อมในการท�างานให้ดี • มีน�้าใจให้มากขึ้น • ยอมรับวิธีท�างานที่หลากหลาย • อย่าเอาชีวิตไปเกาะติดกับที่ท�างาน 7 เทคนิคทํางานเก่งทันที ตั้งแต่วันพรุ่งนี้ บทส่งท้าย ประวัตินักเขียน 219 234 239
  • 13.
  • 14. 14 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น ทําไมคนเยอรมันมี Productivity สูงกว่าคนญี่ปุ่นถึง 1.5 เท่า? Productivity เป็นค�าที่ถูกพูดถึงมากในช่วงไม่กี่ปีมานี้ เรามักได้ยินหลายคนพูดว่า“ฉันอยากมีProductivityมากขึ้น” แล้วคุณรู้ไหมครับว่าค�านี้หมายถึงอะไร? Productivity คือการวัดประสิทธิภาพในการผลิต ซึ่ง อาจหมายถึงเงิน งาน หรือผลลัพธ์อื่นๆ ก็ได้ ดังนั้นคนที่มี Productivity สูงก็หมายความว่าเขาคนนั้นสร้างผลงานได้ เท่ากับคน 2 หรือ 3 คน เป็นต้น ตอนนี้ เราได้ยินปัญหา “คนญี่ปุ่นท�างานหนักจนถึง ขั้นเสียเสียชีวิต” หรือ “บริษัทใช้แรงงานพนักงานราวกับทาส” ตามพาดหัวข่าวอยู่บ่อยครั้ง คุณคิดอย่างไรบ้างครับ?พอใจสภาพแวดล้อมและงาน ที่ท�าอยู่ตอนนี้หรือเปล่า?
  • 15. 15 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 คนญี่ปุ่นขยันท�างานเพื่อ ไล่ตามคนอเมริกัน แล้วก็แซงหน้าได้ในที่สุด ผมเริ่มท�างานช่วงทศวรรษ1980ในช่วงนั้นการท�างาน ปีละกว่า 2,000 ชั่วโมงไม่ใช่เรื่องแปลก เราต่างแซ่ซ้องยินดี ที่ประเทศชาติพัฒนาและเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เพราะ ผลงานของคนรุ่นก่อน ทว่าเมื่อไม่กี่ปีมานี้หรือหลังจากภาวะฟองสบู่แตก ถึง คนญี่ปุ่นจะมีชั่วโมงท�างานเยอะ แต่ประเทศกลับไม่เจริญ ก้าวหน้ามากเท่าที่คิดค�าพูดที่ว่า“ยิ่งประชากรมีชั่วโมงท�างาน เยอะ ประเทศยิ่งเจริญก้าวหน้า” คงไม่ถูกต้องอีกแล้ว คนญี่ปุ่นเลยเรียกร้องให้เกิดการปฏิรูปการท�างานโดย ตั้งเป้าหมายที่จะยกระดับProductivityด้วยวิธีต่างๆเช่นท�างาน ทางไกล ให้พนักงานเลิกงานบ่ายสามทุกวันศุกร์สิ้นเดือน ก�าหนดระเบียบการท�างานล่วงเวลา และส่งเสริมให้พนักงาน ลาพักร้อน ระยะหลังมานี้หลายบริษัทเริ่มเข้มงวดเรื่องลดการ ท�างานล่วงเวลา บางบริษัทลองก�าหนดวันปลอดการท�างาน ล่วงเวลา บางบริษัทห้ามท�างานล่วงเวลาหลังสองทุ่ม แต่วิธี พวกนี้ไม่ช่วยให้ Productivity ของคนญี่ปุ่นเพิ่ม บริษัทขนาดใหญ่บางแห่งลองจ้างบริษัทอื่นให้ท�างาน
  • 16. 16 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น แทนเพื่อลดการท�างานล่วงเวลาลง แต่วิธีนี้ไม่ได้แก้ปัญหา ที่ต้นเหตุ มันแค่ปัดปัญหาให้พ้นตัวมากกว่า ค�าถามคือ “อะไรคือกุญแจส�าคัญที่ช่วยให้คนญี่ปุ่นมี Productivity เพิ่มขึ้น?” ผมใช้ชีวิตและท�างานอยู่ที่ประเทศเยอรมนีมากว่า20ปี ผมได้ท�างานกับพนักงานระดับหัวกะทิ ใช้ชีวิตท่ามกลางชาว เยอรมัน และได้รับอิทธิพลด้านการท�างานจากพวกเขา เยอะมากประสบการณ์พวกนี้ช่วยให้ผมรู้เคล็ดลับของการเพิ่ม Productivity ข้อมูลขององค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทาง เศรษฐกิจ(OECD)ปี2015ระบุว่าคนญี่ปุ่น1คนท�างานปีละ 1,719 ชั่วโมง ส่วนคนเยอรมันท�างานปีละ 1,371 ชั่วโมง น้อยกว่าคนญี่ปุ่นราว 350 ชั่วโมง ถ้าค�านวณเป็นวันซึ่งปกติ แล้วเราท�างานวันละ 8 ชั่วโมง เท่ากับว่าคนญี่ปุ่นท�างาน มากกว่าคนเยอรมันปีละ 43 วัน! ข้อมูลนี้ยังไม่ได้รวมชั่วโมงท�างานล่วงเวลาของธุรกิจ บริการ นั่นแปลว่ามีคนญี่ปุ่นที่ท�างานเกิน 3,000 ชั่วโมงอยู่ ไม่น้อย แม้ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ของญี่ปุ่น จะอยู่อันดับ 3 ของโลก ส่วนเยอรมนีอยู่อันดับที่ 4 แต่ถ้าเป็น
  • 17. 17 ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติต่อหัว(GNP)ญี่ปุ่นจะอยู่อันดับ 22 ส่วนเยอรมนีกลับขึ้นมาน�าในอันดับ 19 สรุปว่าคนญี่ปุ่นท�างานเยอะชั่วโมงกว่าคนเยอรมันแต่ สร้างผลงานและผลลัพธ์น้อยกว่า ผมคิดมาตลอดว่าคนญี่ปุ่นกับเยอรมันต่างกันตรงไหน ในที่สุดผมก็รู้ว่าข้อแตกต่างที่ชัดที่สุดคือ“แนวคิดต่อการท�างาน และวิถีชีวิต” ถ้าการเพิ่ม Productivity คือภารกิจของคนญี่ปุ่นทั้ง ประเทศ ผมมองว่าการเอาอย่างคนเยอรมันตอนนี้ไม่ใช่เรื่อง เสียหาย
  • 18. 18 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น สถิติตัวเลขของ ‘เยอรมนี’ กับ ‘ญี่ปุ่น’ พื้นที่ประเทศ (ตร.กม.) ชั่วโมงทํางาน (ชั่วโมงต่อปี) GDP (ล้านดอลลาร์) แรงงาน (พันคน) ประชากร (ล้านคน) มูลค่าของผลงานที่ทําได้ ใน 1 ชั่วโมงต่อคน (ดอลลาร์) GNP (ดอลลาร์ต่อคน) จํานวนวันหยุดทั้งปี ประเทศเยอรมนี 357,376 1,371 4,028,364 42,161 82.7 65.5 48,839 145 ที่มา : ‘สถิติโลก ปี 2017’ (ส�านักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงการสื่อสารและกิจการภายใน ประเทศ ญี่ปุ่น), ‘THE WORLD BANK Data’, ‘OECD Data’ ‘สมุดข้อมูลแรงงานระหว่างประเทศ ปี 2017’ (สถาบันการฝึกอบรมและนโยบายด้านแรงงานของญี่ปุ่น),‘ผลิตภาพแรงงานระหว่างประเทศปี2016’ (ศูนย์เพิ่มผลิตภาพแห่งประเทศญี่ปุ่น) 377,971 1,719 5,266,444 65,980 127 42.1 41,534 137.4 ประเทศญี่ปุ่น
  • 19. 19 คนญี่ปุ่นเรียกวันจันทร์ถึงวันศุกร์ ว่า “วันธรรมดา” แต่คนเยอรมันเรียกว่า “วันทํางาน” เยอรมนีกับญี่ปุ่นมีจุดร่วมอย่างคาดไม่ถึงทั้งสองประเทศ ต่างเป็นประเทศแพ้สงคราม หลังแพ้สงครามก็เจริญก้าวหน้า ในฐานะประเทศอุตสาหกรรมทั้งสองประเทศเก่งด้านการผลิต สินค้า เยอรมนีเป็นอันดับ 1 ในสหภาพยุโรป (EU) เพราะ พวกเขาพัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าอย่างต่อเนื่อง รถยนต์ที่ได้รับความไว้วางใจทั่วโลกคือ รถญี่ปุ่นไม่ก็ รถเยอรมัน เช่น เบนซ์ โฟล์กสวาเกน บีเอ็มดับเบิลยู และออดี้ บริษัทผลิตกล้องไลก้าก็มาจากเยอรมัน เครื่องใช้ไฟฟ้า โดยเฉพาะเครื่องดูดฝุ่นยี่ห้อมิเอเล่ก็ได้รับความนิยมใน ญี่ปุ่น มีดท�าครัวยี่ห้อเฮงเคิลส์ก็มีคนญี่ปุ่นชื่นชอบไม่น้อย สินค้าเยอรมันจึงมีภาพลักษณ์ว่า “คุณภาพดีและแข็งแรง” มาร์คเยอรมัน เป็นสกุลเงินที่แข็งค่าอยู่เสมอ รัฐบาล เยอรมันจึงพยายามผลักดันให้ประเทศกลายเป็นผู้ชนะ ในสงครามการค้าโดยทุ่มก�าลังไปที่การพัฒนาคุณภาพสินค้า สุดท้ายเยอรมนีก็กลายเป็นหนึ่งในมหาอ�านาจทางเศรษฐกิจ
  • 20. 20 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น ของโลก อุตสาหกรรมในญี่ปุ่นก็ไม่ด้อยไปกว่าเยอรมนี หลัง แพ้สงครามไม่นานญี่ปุ่นก็ฟื้นฟูเศรษฐกิจได้อย่างน่าอัศจรรย์ จากนั้นก็มุ่งมั่นยกระดับคุณภาพสินค้าจนสกุลเงินเยนแข็งค่า และมีศักยภาพในการแข่งขันทางเศรษฐกิจไม่แพ้เยอรมนี แต่มาวันนี้ ท�าไมทุกอย่างถึงแตกต่างกัน? ดร.ฟรานซ์ วอลเดนเบอร์เกอร์ แห่งสถาบันเยอรมนี- ญี่ปุ่นศึกษา แสดงความเห็นเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่าง เยอรมนีกับญี่ปุ่นว่า“เยอรมนีกับญี่ปุ่นมีแนวคิดเรื่องการปฏิบัติ ต่อพลเมืองแตกต่างกัน เยอรมนีมองว่าพลเมืองคือแรงงาน จึงให้ความส�าคัญเรื่องสิทธิแรงงานส่วนญี่ปุ่นมองว่าพลเมือง คือผู้บริโภค จึงให้ความส�าคัญเรื่องสิทธิผู้บริโภค” เยอรมนีให้ความส�าคัญเรื่องสิทธิแรงงาน พวกเขาจึง มอบจ�านวนวันหยุดให้แรงงานเต็มที่ ก�าหนดชั่วโมงท�างานใน 1 วันอย่างเข้มงวด และสร้างประเทศที่เป็นมิตรกับแรงงาน ส่วนญี่ปุ่นให้ความส�าคัญเรื่องสิทธิผู้บริโภค เราจึงมี แนวคิดฝังลึกว่า“ลูกค้าคือพระเจ้า”เราก็เลยเปิดร้านสะดวกซื้อ 24 ชั่วโมงเพื่อ “พระเจ้า” ถ้าพระเจ้าสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ สินค้าก็จะมาส่งในวันรุ่งขึ้นยกเว้นร้านที่ปิดวันเสาร์อาทิตย์ซึ่ง สิ่งเหล่านี้กลายเป็นเรื่องปกติไปแล้ว
  • 21. 21 ผมเคยได้ยินมาว่าสาเหตุที่คนญี่ปุ่นคิดว่า “ลูกค้าคือ พระเจ้า”มาจากค�าพูดของอดีตนักร้องผู้ล่วงลับอย่างคุณมินามิ ฮารุโอะเขาเคยกล่าวว่า“จะร้องเพลงอย่างสมบูรณ์แบบเพราะ ผู้ชมคือพระเจ้า” แต่เขากลับสื่อความหมายไม่ตรงกับเจตนา ของตัวเอง ชาวญี่ปุ่นมีแนวคิดฝังลึกว่าการน�าเสนอสินค้าหรือ บริการที่ดีในราคาย่อมเยาให้“พระเจ้า”คือเรื่องปกตินี่จึงเป็น เหตุให้คนที่ท�างานบริการเกิดความเครียด คนเยอรมันเรียกวันจันทร์ถึงวันศุกร์ว่าArbeitstagหรือ Werktag หมายความว่า “วันท�างาน” คนเยอรมันส่วนใหญ่ นับถือศาสนาคริสต์ วันสุดสัปดาห์จึงเป็นวันพักผ่อน เมื่อเป็น วันพักผ่อนก็ต้องไม่ท�างาน ร้านค้าก็ไม่เปิด คนเยอรมันจะไม่ ท�างานในวันพักผ่อน ส่วนคนญี่ปุ่นเรียกวันจันทร์ถึงวันศุกร์ว่า “วันธรรมดา” หรือเรียกอีกอย่างว่าวันปกติ วันหยุดจึงมีภาพลักษณ์ว่าเป็น “วันพิเศษ” “ชูคิวฟุตสึกะ(週休2日)”เป็นวลีติดปากที่หมายความว่า ได้หยุดงานสัปดาห์ละ2วันเรามองวันท�างานเป็นวันธรรมดา วันหยุดเลยกลายเป็นวันพิเศษ เราจึงสนใจว่าจะได้หยุดงาน สัปดาห์ละกี่วัน
  • 22. 22 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น คนเยอรมันไม่มีวลีนี้ แต่พวกเขาชอบพูดว่า “Fünftagewoche” ซึ่งหมายความว่า ท�างานสัปดาห์ละ 5 วัน คนเยอรมันมองว่าการท�างานเป็นเรื่องพิเศษ จึงสนใจวัน ท�างานมากกว่า คนญี่ปุ่นมองว่าแรงงานเป็นสิ่งที่น่าเคารพ และความ ขยันขันแข็งเป็นคุณธรรมอันดีงาม เราจึงให้ความส�าคัญกับ การท�างานมาก ถึงขนาดมีสุภาษิตบทหนึ่งว่า “คนไม่ท�างาน ไม่สมควรกินข้าว” ถ้าคุณไปบอกผู้บริหารชาวญี่ปุ่นว่า“ตัวเองท�างานหนัก” คุณจะโดนสวนกลับมาว่า“งั้นก็ลาออกไปสิไม่ต้องทนท�างาน ก็ได้ บริษัทนี้ต้องการคนที่ขยันท�างาน” แต่ถ้าคนเยอรมัน รู้สึกว่าตัวเองท�างานหนัก พวกเขามักหางานใหม่ทันที ไม่ฝืน ท�างานที่เดิม ในสมัยที่คุณเป็นนักศึกษา คุณให้ความส�าคัญกับการ เรียนและการเที่ยวเล่นเป็นอันดับแรก หากมีเวลาเหลือค่อย ท�างานพิเศษ ใช่ไหมครับ? คุณน่าจะเคยใช้ชีวิตโดยไม่ได้มองว่าการท�างาน เป็นทุกอย่างของชีวิตกันมาบ้าง แต่คนเยอรมันนั้นไม่ใช่คนที่ ท�างานแบบขอไปทีเช่นนี้ จากประสบการณ์ท�างานกับคนเยอรมันกว่า 20 ปี ผม
  • 23. 23 รู้สึกว่าคนเยอรมันจะไม่ท�างานมากเกินไป โดยพื้นฐานแล้ว พวกเขาเป็นคนขยันและจะท�าสิ่งที่ได้รับมอบหมายจนส�าเร็จ แต่จะไม่ฝืนก�าลังไปมากกว่านั้น ผมเรียนรู้การท�างานแบบคนเยอรมันตั้งแต่วันแรกที่ไป ท�างานในบริษัทเมทซเลอร์ พนักงานจะมาท�างานราว 9 โมง พนักงานที่มาหลัง 9 โมงก็ไม่ถูกต�าหนิ ซ�้ายังชงกาแฟตามสบาย คุยเล่นกับเพื่อน ร่วมงานแล้วค่อยเริ่มท�างาน พอ 6 โมงกว่าๆ ทุกคนก็ร�่าลากัน ว่า“เจอกันพรุ่งนี้”แล้วรีบกลับบ้านต่อให้มีคนท�างานล่วงเวลา แต่พอสักทุ่มครึ่งก็ไม่มีใครอยู่ออฟฟิศแล้ว ถ้าเป็นบริษัทญี่ปุ่น พนักงานใหม่ต้องมาท�างานก่อน เวลาครึ่งชั่วโมง เพื่อท�าความสะอาดและเตรียมชงชา ส่วน พนักงานที่ท�างานมานานก็มาก่อนเวลา 10 นาที เพื่อเตรียม ความพร้อมก่อนเริ่มงานตอน9โมงถ้าใครมาท�างาน9โมงตรง ถือว่าเป็นพนักงานที่ใช้ไม่ได้ ยิ่งไปกว่านั้นแม้ท�างานตัวเองเสร็จแล้วแต่ถ้าคนรอบข้าง ยังนั่งท�างานกันอยู่ พนักงานก็ล�าบากใจที่ต้องกลับบ้านก่อน ถ้าพนักงานใหม่ท�าท่าจะกลับบ้านพร้อมพูดว่า “ขออนุญาต กลับก่อนครับ/ค่ะ” เขามักจะโดนต�าหนิว่า “เธอเนี่ย ท�าตัวไม่ สมกับเป็นคนท�างานเลยนะ”
  • 24. 24 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น ถ้าเราท�างานล่วงเวลาจนดึกดื่นทุกวัน เราก็จะอ่อนล้า ส่งผลต่อประสิทธิภาพการท�างานในระยะยาว คนเยอรมันจะไม่ทํางานมากเกินไป โดยพื้นฐานแล้วพวกเขาเป็นคนขยัน และจะทําสิ่งที่ได้รับมอบหมายจนสําเร็จ แต่จะไม่ฝืนกําลังไปมากกว่านั้น
  • 25. 25 คนเยอรมันให้ความสําคัญกับ “ประสิทธิภาพ การทํางาน” บริษัทซูเปอร์มาร์เก็ตห้างสรรพสินค้าร้านอาหารและ ร้านขายยาในเยอรมนีจะปิดในวันอาทิตย์กับวันหยุดนักขัตฤกษ์ คนญี่ปุ่นที่เดินทางมาที่นี่ต้องเคยคิดว่า “แม้ร้านอาหารจะ ไม่เปิดซูเปอร์มาร์เก็ตก็คงเปิดสักร้านแหละ”แต่พอเห็นว่าทุก ร้านปิดจริงๆ ก็คงท�าอะไรไม่ถูก ในวันเสาร์ ผู้คนออกมาจับจ่ายซื้อของเต็มไปหมด แต่ พอวันอาทิตย์ ทั่วทั้งเมืองกลับเงียบเหงา ครั้งแรกที่ผมเห็น ความแตกต่างนี้ก็รู้สึกประหลาดใจมาก ประเทศเยอรมนีมีกฎหมายเป็นเอกลักษณ์ เช่น กฎหมายการปิดร้านค้า ซึ่งห้ามเปิดวันอาทิตย์และวันหยุด นักขัตฤกษ์ เป็นต้น กฎหมายการปิดร้านค้าเริ่มบังคับใช้ตั้งแต่ปี 1957 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนในปี 1996 รัฐบาลก�าหนดเวลา ปิดร้านชัดเจนยิ่งขึ้นคือวันจันทร์ถึงวันศุกร์ให้ปิดร้าน6โมงครึ่ง และวันเสาร์ให้ปิดร้านบ่าย 2 โมง กฎหมายนี้ถูกปรับปรุงเรื่อยมาจนตอนนี้มีซูเปอร์มาร์เก็ต
  • 26. 26 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น ที่เปิดให้บริการถึงเที่ยงคืนอยู่ส่วนหนึ่ง ร้านค้าในสนามบิน สถานีรถไฟรวมถึงปั๊มน�้ามันก็เปิดให้บริการนอกเหนือวันเวลา ที่กฎหมายก�าหนดบ้าง แต่ผมยังไม่เคยเห็นร้านสะดวกซื้อ ที่เปิด 24 ชั่วโมงเลย คนญี่ปุ่นคงมองว่า“วันอาทิตย์คือวันท�าเงินของร้านค้า น่าเสียดายถ้าต้องปิดร้าน”หรือ“แม้จะเป็นช่วงดึกแต่ลูกค้าก็ ยังอยากซื้อของอยู่นะ” ร้านค้าญี่ปุ่นที่เปิดเกินเที่ยงคืนมักเขียนค�าโฆษณาว่า “เปิดถึง 25 นาฬิกาหรือ 26 นาฬิกา” นี่เป็นส�านวนญี่ปุ่นที่มี เอกลักษณ์เฉพาะตัวชาวต่างประเทศที่มาเห็นต่างพากันงงว่า “มันหมายความว่าอะไร?” คุณคงคิดว่าร้านค้าที่เปิด 365 วัน ตลอด 24 ชั่วโมง คงกวาดรายได้อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วยแต่จริงๆแล้วมีร้านค้า ไม่น้อยที่เปิดโดยไม่จ�าเป็น ร้านข้าวหน้าเนื้อสุคิยะจะให้พนักงานเฝ้าร้านกลางดึก คนเดียวร้านจึงตกเป็นเป้าของการโจรกรรมบางครั้งพนักงาน ก็ทิ้งร้านไปเพราะทนงานหนักไม่ไหว สุดท้ายร้านสุคิยะบาง สาขาก็ต้องปิดตัวลงและชื่อเสียงก็ตกฮวบ นอกจากจะไม่ได้ ก�าไรแล้ว บริษัทยังเสียหายด้วย คุณเองก็คงเคยมีประสบการณ์ท�าสิ่งที่ไม่จ�าเป็นมาบ้าง
  • 27. 27 เช่น วันนี้ตัดสินใจว่าจะท�างาน 10 อย่าง แต่พอตกเย็น อยู่ๆ หัวหน้าก็เดินมาบอกว่า“ขอโทษนะช่วยท�าเอกสารที่ต้องใช้ใน การประชุมวันพรุ่งนี้หน่อยได้ไหม” งานของคุณก็เพิ่มขึ้นทันที ถ้าเจอเหตุการณ์นี้ คนญี่ปุ่นจะเพิ่มงานด่วนนั้นเข้าไป ในงาน10อย่างบางคนท�างานล่วงเวลาเพื่อท�างานให้เสร็จคน ญี่ปุ่นมีความรับผิดชอบต่องาน แต่บางครั้งก็ให้ความส�าคัญ กับงานมากเกินไปจนชีวิตขาดสมดุล ส่วนคนเยอรมันถ้าเจอเหตุการณ์นี้พวกเขาจะให้ความ ส�าคัญกับงานที่ถูกก�าหนดมาแล้วก่อน ส่วนงานที่ส�าคัญรอง ลงมาจะเลื่อนไปท�าวันรุ่งขึ้นถ้าท�าไม่ได้จริงๆค่อยท�างานล่วง เวลา แต่ส่วนใหญ่พวกเขาจะไม่เลือกวิธีนั้น คนเยอรมันจะขอเลื่อนงานออกไปอย่างไม่เกรงกลัว เพราะพวกเขาจะไม่ยอมสละเวลาส่วนตัว พวกเขาสร้าง สมดุลชีวิตโดยให้ความส�าคัญกับชีวิตมากกว่างาน บางคนอาจคิดว่า “ถ้าเลื่อนงานออกไป วันพรุ่งนี้ก็ ต้องมีงานเพิ่มขึ้นและยิ่งเหนื่อยมากกว่าเดิม” หลายคนคง ตรากตร�ากับงานในแต่ละวัน ความคิดเลื่อนงานออกไปจึง เป็นการท�างานแบบผ่อนสั้นผ่อนยาวเพื่อลดปริมาณงานแบบ คนเยอรมันและน่าจะเป็นเคล็ดลับในการท�างานที่เหมาะกับ คนเหล่านั้น
  • 28. 28 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น คนเยอรมันยังมองว่างานด่วนตอนเย็นคือปัญหา พวกเขาจึงคิดวิธีป้องกันและเพิ่มประสิทธิภาพการท�างาน แทนการเพิ่มเวลาท�างาน ทุกวันนี้ผมเห็นเพื่อนร่วมงาน คนเยอรมันท�างานอย่างยืดหยุ่นและจัดล�าดับความส�าคัญ อย่างคล่องแคล่ว ปัจจุบันอีเมลกลายเป็นเครื่องมือในการท�างานอย่างหนึ่ง มันจะมาหาเราโดยไม่เลือกเวลาและสถานที่มีคนญี่ปุ่นจ�านวน ไม่น้อยที่ต้องตอบอีเมลในวันหยุด โฟล์กสวาเกน บริษัทรถยนต์ชื่อดังของเยอรมนีจะแจก สมาร์ทโฟนของบริษัทให้พนักงาน เมื่อเลยเวลาท�างาน ระบบ จะถูกตั้งค่าไว้ไม่ให้พนักงานเปิดเช็คอีเมล นอกจากนี้ อีเมล ที่พนักงานได้รับในวันหยุดจะถูกลบโดยอัตโนมัติ คนเยอรมันมุ่งมั่นกับการสร้าง “ระบบไม่ท�างาน วันหยุด” ดังนั้นถ้ามีงานหรือปัญหาเข้ามาในวันหยุด ก็จะเกิด ปัญหาลุกลามใหญ่โตแต่โฟล์กสวาเกนไม่เคยเจอปัญหาเหล่า นั้น พวกเขาจึงใช้ระบบนี้ต่อไป สุดท้าย “งานที่ต้องท�าทันที” ก็ไม่เคยด่วนขนาดนั้น ถ้า เป็นงานที่ชี้เป็นชี้ตายก็อีกเรื่องหนึ่ง แต่งานนอกเหนือจากนั้น เอาไว้ท�าพรุ่งนี้เช้าก็ได้ เมื่อคนญี่ปุ่นได้รับมอบหมายงานจนล้นมือ เราก็จะ
  • 30. 30 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น แนวคิด “คนอื่นก็คือคนอื่น ฉันก็คือฉัน” ผมขอเล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นสมัยช่วงทศวรรษ 1980 ผมเพิ่งย้ายมาท�างานที่เยอรมนี ตอนนั้นผมท�างานที่ธนาคาร โตเกียว สาขาเยอรมนี ชั่วโมงท�างานจึงยาวนานเช่นเดียวกับ ธนาคารที่ญี่ปุ่นการท�างานตั้งแต่เช้ายันดึกติดต่อกันหลายวัน เป็นเรื่องปกติ เช้าวันหนึ่งพนักงานส่งกาแฟสาวผิวแทนทักทายผมว่า “อรุณสวัสดิ์นี่กาแฟค่ะ”แล้วเธอก็ยื่นกาแฟให้พร้อมกับฉีกยิ้ม กว้าง พอถามเหตุผลที่ผิวเปลี่ยนเป็นสีแทน เธอก็ตอบอย่างมี ความสุขว่า “ลาพักร้อนไปเที่ยวมาค่ะ” ผมมองเธอแล้วรู้สึกว่าตัวเองไม่มีแก่นสารพลางคิดว่า “ผมมัวท�าอะไรอยู่” ประเทศเยอรมนีสมัยนั้น มีคนส่งกาแฟตามออฟฟิศ เป็นอาชีพ คนที่ท�าอาชีพนี้ส่วนใหญ่เป็นผู้อพยพ งานของ พวกเขามีแค่ส่งกาแฟซึ่งใช้เวลาตอนเช้าประมาณ 1 ชั่วโมงก็ เสร็จงาน จากนั้นพวกเขาอาจไปส่งกาแฟที่ออฟฟิศอื่น งานแบบนี้ไม่น่าเป็นงานที่ได้ค่าจ้างสูงแน่ๆแต่พนักงาน ส่งกาแฟสาวคนนี้ยังลาพักร้อน 3 สัปดาห์เพื่อไปเที่ยวทะเล
  • 31. 31 เธอส่งกาแฟทุกวันอย่างมีความสุขพลางพูดคุยยิ้มแย้มกับ พนักงานอย่างเป็นกันเอง ส่วนตัวผมท�างานแทบจะ24ชั่วโมงผมได้หยุดยาวแค่ ช่วงเทศกาลเซ่นไหว้บรรพบุรุษ ช่วงสิ้นปี และช่วงโกลเด้นวีค เหมือนกับคนที่อยู่ญี่ปุ่น ผมไม่สดชื่นพอที่จะยิ้มแย้มตอนเช้า ผมคิดว่าตัวเองมีชีวิตที่พรั่งพร้อมกว่า แต่กลับรู้สึกว่าเธอมี ความสุขมากกว่าเยอะ ท�าไมเป็นเช่นนี้? ผมเริ่มสนใจประเทศเยอรมนีและคนเยอรมันตั้งแต่ ตอนนั้น ภาษาอังกฤษมีค�าเรียกอาการแบบนี้ว่า “Another Planet (ดาวอื่น)” ส่วนภาษาเยอรมันก็เรียกอาการแบบนี้ว่า “Sie lebt in ihrer eigenen Welt (เธอหมกตัวอยู่ในโลกของ ตัวเอง)” คนเยอรมันใช้ส�านวนนี้เพื่อบอกว่า“คนคนนั้นอยู่ดาวอื่น” โดยแฝงความหมายว่า“คนคนนั้นมีความคิดแตกต่างกับตัวเอง” แต่ไม่ได้ดูถูกอีกฝ่ายหนึ่ง คนเยอรมันมีแนวคิดฝังลึกว่า “คนอื่นก็คือคนอื่น ฉันก็คือฉัน”พวกเขาจึงรู้สึกภาคภูมิใจกับชีวิตของตัวเองแม้จะ ท�างานส่งกาแฟ แต่ก็หยิ่งในศักดิ์ศรี แม้คนเยอรมันจะได้รับบริการแย่ๆ ในคาเฟ่ราคาถูก
  • 32. 32 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น พวกเขาก็ไม่ปริปากบ่น แต่จะคิดแค่ว่าได้รับบริการที่สมน�้า สมเนื้อกับเงินที่จ่ายไป ถ้าอยากได้รับบริการที่ดี ก็ควรไปร้าน อาหารหรูๆ ถ้าคนญี่ปุ่นมีแนวคิดว่า“คนอื่นก็คือคนอื่นฉันก็คือฉัน” คงอดกังวลไม่ได้ว่าคนอื่นจะคิดกับตัวเองอย่างไรแถมตัวเองก็ ถูกบังคับให้ยอมรับคนอื่นไปด้วย อีกเรื่องที่ผมประหลาดใจมากตอนเข้ามาท�างานใน บริษัทเมทซเลอร์คือ แต่ละคนพูดคนละภาษาเลย ประเทศ เยอรมนีไม่มีภาษากลาง ภาษาถิ่นของคนแต่ละภูมิภาคจึง แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง โรงเรียนสอนภาษาเยอรมันที่ญี่ปุ่นค่อนข้างมั่นใจว่า ภาษาเยอรมันที่ตัวเองสอนเป็นภาษากลาง แต่จริงๆ แล้วเป็น ภาษาที่ใช้กันในเมืองฮันโนเวอร์ ส่วนกรุงเบอร์ลิน เมืองหลวง ของเยอรมนีก็มีภาษาถิ่นถ้าเปรียบเทียบกับญี่ปุ่นก็คือเราพูด ภาษาฮอกไกโดภาษาโอกินาวะภาษาคันไซและภาษานาโงยะ ใส่กัน ดังนั้นช่วงที่ผมมาท�างานใหม่ๆ ผมจึงฟังไม่รู้เรื่องเลย ว่าคนเยอรมันพูดอะไรกันในที่ประชุม คนญี่ปุ่นที่เกิดและเติบโตในภูมิภาคอื่นเมื่อมาอยู่ โตเกียวก็ต้องพูดภาษากลางเพราะเจ้าตัวอายที่จะพูดภาษาถิ่น เลยพยายามเปลี่ยนมาพูดภาษากลาง ร้านค้าในโตเกียวยัง
  • 33. 33 บังคับให้พนักงานพูดภาษากลางด้วย แต่คนเยอรมันไม่มี แนวคิดเรื่องภาษากลางตั้งแต่แรกแล้ว ถ้าลองวิเคราะห์เรื่องภาษากลางให้ลึกขึ้น จะพบว่า คนญี่ปุ่นยอมรับแค่คนที่อยู่ดาวดวงเดียวกับตัวเองและ ไม่มีแนวคิด“คนอื่นก็คือคนอื่นฉันก็คือฉัน” เราใส่ใจภาพลักษณ์ เราจึงพยายามปรับตัวเองให้เข้ากับสังคม ซึ่งอาจเรียกว่า เราไม่มีจุดยืนและมัวแต่คิดหาทางท�าตัวเองให้เหมือนคนอื่น เมื่อความคิดนี้รุนแรงขึ้นก็จะส่งผลให้เกิดสิ่งที่เรียกว่า “อิทธิพลของคนรอบข้ำง” เวลาเราโดนสั่งให้ท�าตามคนที่ อยู่ทางขวาทุกคนก็ต้องท�าตามถ้าคนอื่นท�างานล่วงเวลาตัวเอง จะกลับบ้านตรงเวลาอยู่คนเดียวไม่ได้ นี่คืออิทธิพลของคน รอบข้าง คุณจะหลุดพ้นจากอิทธิพลของคนรอบข้างก็ต่อเมื่อ คุณอยากใช้ชีวิตในแบบของตัวเอง ไม่ต้องใส่ใจชีวิตคนอื่น คุณจะเอาอย่างการใช้ชีวิตของคนเยอรมันก็ได้ ต่อไปเมื่อคุณคิดเรื่องงาน คุณควรคิดเรื่อง “ชีวิตของ ตัวเอง”ควบคู่ไปด้วยถ้าคุณเพิ่มProductivityโดยยังรักษาเวลา ของตัวเองได้ ก็แสดงว่าคุณให้ความส�าคัญกับชีวิตมากขึ้น ตั้งแต่บทหน้าเป็นต้นไป ผมจะอธิบาย 5 เคล็ดลับเพื่อ ใช้ชีวิตในแบบของตัวเองให้คุณฟัง
  • 35.
  • 36. 36 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น ทําไมสถานีรถไฟที่เยอรมนีมีเสียงประกาศ น้อย? ตอนที่ผมใช้บริการสถานีรถไฟครั้งแรกที่ประเทศ เยอรมนี ผมแปลกใจที่ไม่เห็นช่องตรวจตั๋วเหมือนญี่ปุ่นซึ่ง ผมเคยชินมากว่า 20 ปี ผมเดินๆ อยู่ก็เข้ามาในชานชาลาเฉย เลย พอมองรอบตัวด้วยความสงสัยว่าช่องตรวจตั๋วอยู่ที่ไหน ผมก็หาไม่เจอสักที ที่เยอรมนีมีเจ้าหน้าที่คอยสุ่มตรวจตั๋วโดยสารบนรถไฟ แทนการใช้ช่องตรวจตั๋วอัตโนมัติ เจ้าหน้าที่จะท�างานกันเป็น กลุ่ม 2-3 คนและมีผู้หญิงด้วย พวกเขาแต่งตัวธรรมดาไม่ได้ สวมเครื่องแบบจึงไม่มีใครรู้ว่าเป็นเจ้าหน้าที่ ส่วนที่ญี่ปุ่น ถ้าผู้โดยสารไม่ได้ซื้อตั๋ว เขาสามารถไป จ่ายที่ปลายทางได้แต่ถ้าเป็นที่เยอรมนีเมื่อเจ้าหน้าที่มาตรวจ ตั๋วแล้วพบว่ามีผู้โดยสารที่ไม่ซื้อตั๋วขึ้นมาบนรถไฟ เจ้าหน้าที่
  • 37. 37บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐาน จะไม่รับฟังเหตุผลใดๆ และเขียนใบสั่งทันที ในบางครั้งคน คนนั้นต้องจ่ายค่าปรับเป็นเงินราว60ยูโร(ประมาณ2,000บาท) ประเทศเยอรมันมีระบบตรวจตั๋วที่มีประสิทธิภาพโดยไม่ต้อง ติดตั้งอุปกรณ์ซึ่งใหญ่เทอะทะอย่างช่องตรวจตั๋วเลย ที่ญี่ปุ่น ตอนรถไฟแล่นเข้ามาในชานชาลา เราจะได้ยิน เสียงประกาศซ�้าๆว่า“กรุณายืนอยู่หลังเส้นสีขาว”และ “ประตู จะปิดหลังเสียงสัญญาณ” แต่ที่เยอรมนีไม่มีเสียงประกาศ แบบนี้เลย ขนาดเสียงประกาศว่า“กรุณาระวังประตูก�าลังจะปิด” ก็ไม่มี พอผู้โดยสารเข้ามาในตู้โดยสารแล้วประตูจะปิดทันที ผมจึงกังวลว่าตัวเองมาทันรถไฟขบวนนี้จริงๆ หรือเปล่า รถไฟของเยอรมนีมาถึงที่หมายช้าเป็นเรื่องปกติถึงขนาด ว่าวันไหนที่รถไฟออกตรงเวลา คนต้องแปลกใจ เวลาที่รถไฟ เปลี่ยนชานชาลาจะมีเสียงประกาศตามปกติ แต่พวกเขาชอบ ใช้น�้าเสียงเหมือนหุ่นยนต์ ถ้าคุณไม่ชินกับภาษาเยอรมัน คุณจะฟังไม่ค่อยรู้เรื่อง ผมไม่เคยได้ยินเสียงประกาศภาษา อังกฤษเลยด้วยซ�้าสมัยที่เพิ่งมาอยู่ใหม่ๆผมงงเป็นไก่ตาแตก รู้ตัวอีกที รถไฟที่จะขึ้นก็ออกไปแล้ว ถ้าคุณฟังเสียงประกาศไม่ออกคุณต้องไปถามพนักงาน สถานีเอาเอง สมัยนี้พนักงานสถานีส่วนใหญ่พูดอังกฤษได้
  • 38. 38 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น แต่สมัยนั้นแทบไม่พูดอังกฤษเลย ผมต้องใช้ความกล้าถาม เขาไปด้วยภาษาเยอรมันแบบงูๆปลาๆผมถึงรู้ว่าการเป็นฝ่าย เข้าไปถามหรือชวนคุยนั้นส�าคัญขนาดไหน ผมไม่ค่อยเห็นคนเยอรมันเข้าแถวขึ้นรถไฟ เพราะ ที่ชานชาลาไม่ได้มีคนล้นทะลักเหมือนที่ญี่ปุ่น คนจะขึ้นจะลง ได้อย่างอิสระและราบรื่นผมเห็นคนเยอรมันเปิดทางให้ผู้หญิง เด็ก และผู้สูงอายุขึ้นรถไฟก่อนอยู่บ่อยๆ พวกเขาไม่ได้ปฏิบัติ ตามกฎอย่างเคร่งครัด แต่พวกเขารู้จักยืดหยุ่นและเป็นอิสระ จึงไม่ชวนให้รู้สึกเครียด นอกจากนี้รถไฟที่เยอรมนีแทบไม่เคยจอดตรงจุดพอดี เหมือนที่ญี่ปุ่น คนต่างชาติที่มาญี่ปุ่นต่างประทับใจที่รถไฟ จอดได้อย่างแม่นย�าถ้าพวกเขาเคยสัมผัสความไม่ประณีตของ รถไฟเยอรมนี หรือรถไฟฝรั่งเศสซึ่งบางครั้งประตูเปิดก่อนจะ จอดเสียอีกพวกเขาก็จะยิ่งประทับใจมากขึ้นรถไฟญี่ปุ่นจึงขึ้น ชื่อเรื่องความปลอดภัยและมีเทคนิคการขับที่ยอดเยี่ยมจริงๆ ทว่าพอกลับมาขึ้นรถไฟที่ญี่ปุ่นผมรู้สึกละเหี่ยใจอย่าง ประหลาด เพราะสถานีรถไฟนั้นเสียงดังมาก มีเสียงประกาศ ไม่หยุดขนาดเข้าไปในตู้โดยสารแล้วก็ยังมีเสียงประกาศ อยู่เรื่อยๆรถไฟออกช้าแค่ 2-3 นาทีก็ประกาศขอโทษซ�้าแล้ว ซ�้าเล่า
  • 39. 39บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐาน ยิ่งไปกว่านั้น ภายในสถานีรถไฟและภายในตู้โดยสาร ยังติดโปสเตอร์รณรงค์มารยาทเต็มไปหมด เช่น “กรุณาเดิน เข้าไปข้างใน ไม่ยืนขวางประตู” “กรุณาสะพายกระเป๋าเป้ ไว้ข้างหน้า” ฯลฯ ผมจึงรู้สึกว่าสถานีรถไฟญี่ปุ่นเป็นแหล่ง บ่มเพาะให้เรามีสภาพสังคมปิดกั้น การประกาศซ�้าๆ คงเกิดจากแนวคิดของบริษัทรถไฟ ญี่ปุ่นว่า “ถ้าเกิดเรื่องอะไรขึ้น ตัวเองจะเดือดร้อน” บริษัท รถไฟญี่ปุ่นจึงมีท่าทีหลบเลี่ยงความรับผิดชอบมากกว่าความ เอาใจใส่ ผู้โดยสารสามารถโทรศัพท์บนรถไฟที่เยอรมนีได้เลย โดยไม่มีใครว่า ถึงจะวางของบนที่นั่งก็ไม่มีใครโกรธ ถ้าใคร อยากนั่งตรงนั้น ก็แค่พูดออกมา แล้วคนเยอรมันจะหยิบ ของออกให้ทันที แต่ถ้าคุณเผลอไปนั่งที่นั่งส�ารองในรถไฟ ด่วนพิเศษที่ญี่ปุ่น พอเจ้าของที่นั่งมาเห็นก็จะท�าหน้าบึ้งตึง ไม่พอใจ กลับกันถ้าเป็นที่เยอรมนี คุณแค่ลุกออกไปก็จบเรื่อง คนเยอรมันก็มีมารยาทเหมือนกัน แต่มารยาทไม่ใช่ กฎหมายจึงไม่ใช่สิ่งที่ต้องบังคับกัน พวกเขามีมารยาทแต่ก็ รู้จักยืดหยุ่น ส่วนคนญี่ปุ่นถูกบังคับให้มีมารยาทเหมือนโดน บังคับเป็นกฎหมาย จึงรู้สึกอึดอัดมากเกินไป คนญี่ปุ่นสร้างกฎระเบียบไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ เรา
  • 40. 40 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น สร้างกฎระเบียบแล้วก็แค่ปฏิบัติตาม พอปฏิบัติตามแล้วก็ สบายใจ แต่เราไม่เคยพูดคุยกันเลยว่า กฎนี้เข้ากับสภาพ สังคมหรือไม่? ท�าไมต้องสร้างกฎนี้ขึ้นมา? กฏนี้เปลี่ยนแปลง หรือยกเลิกได้หรือไม่? เมื่อใดที่เราปฏิบัติตามกฎระเบียบ เราจะหยุดใช้ ความคิด เราจะหยุดตั้งถามกับสิ่งรอบตัว เช่น เสียงประกาศ ในสถานีรถไฟมีความจ�าเป็นมากน้อยแค่ไหน? เราต้องมอง คนเสียมารยาทด้วยหางตาหรือไม่? ผมฝึกคิดด้วยการตั้งข้อสงสัยแบบนี้จนเป็นนิสัย ถ้า คุณไม่เปลี่ยนความคิดคุณไม่มีทางเปลี่ยนชีวิตและการท�างาน ได้ซึ่งเนื้อหาในบทที่1นี้จะช่วยให้คุณออกจากกรอบความคิด เดิมๆ พวกนี้
  • 41. 41บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐาน ใช้ชีวิตในแบบของตัวเอง เพื่อนร่วมงานของผมที่บริษัทเมทซเลอร์ต่างมีรูปแบบ การท�างานที่แตกต่างกันไป บางคนท�างานเต็มเวลา บางคน ท�างานถึงแค่บ่ายสามโมงก็กลับบ้านบางคนหยุดสัปดาห์ละ3วัน บางคนมีลูกเล็กจึงท�างานที่บ้านแทบไม่โผล่มาที่บริษัท ผู้ชาย ที่ขอลาไปเลี้ยงลูกก็มี ยิ่งไปกว่านั้น ผู้หญิงที่หยุดสัปดาห์ ละ 3 วัน เธอเป็นถึงหัวหน้าทีม ผมท�างานในสภาพแวดล้อมแบบนี้ไประยะหนึ่งก็เรียนรู้ ว่า “กำรท�ำงำนไม่ได้มีเพียงรูปแบบเดียว” คนเยอรมัน ยืดหยุ่นกับการท�างานค่อนข้างมาก พวกเขาขอแค่ท�างานที่ ได้รับมอบหมายให้ส�าเร็จก็พอ ส่วนคนญี่ปุ่นจะไม่คิดแบบนี้ผมเคยได้ยินบ่อยๆว่าผู้หญิง ที่กลับมาท�างานหลังจากลาคลอด พอกลับบ้านเร็วติดๆ กัน โดยให้เหตุผลว่า“ต้องไปรับลูก”ก็จะโดนเพื่อนร่วมงานมองด้วย สายตาเย็นชา แม้บริษัทจะอนุญาตให้กลับบ้านตอนสี่โมงได้ เธอก็ยังเกรงใจเพื่อนร่วมงานจนไม่อยากกลับบ้านก่อน นี่คง เป็นเพราะอิทธิพลของคนรอบข้างอีกเช่นเคย ถ้าเป็นในบริษัทเยอรมัน แม้พนักงานจะกลับบ้านเร็ว
  • 42. 42 PRODUCTIVITY คิดแบบเยอรมัน ลงมือทําแบบญี่ปุ่ น หรือท�างานอยู่บ้านก็ไม่มีใครคิดว่า“เขาขี้โกง”เพราะว่าพนักงาน เป็นบุคลากรของบริษัท เขาจะท�างานแบบไหนก็เรื่องของเขา ตราบใดที่เขาท�างานเก่ง ไม่ว่าจะท�างานแบบไหนเขาก็เป็น หัวหน้าได้ บริษัทญี่ปุ่นหลังจากนี้คงจะมีพนักงานผู้หญิงมากขึ้น และจ้างคนต่างชาติเพิ่มขึ้นภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ ดังนั้น เราก็ควรค่อยๆ ยอมรับรูปแบบการท�างานที่หลากหลายด้วย คนเยอรมันยอมรับรูปแบบการท�างานอันหลากหลายได้ เพราะพวกเขาคิดว่า “คนอื่นก็คือคนอื่น ฉันก็คือฉัน” ซึ่งสื่อถึงการใช้ชีวิตในแบบของตัวเอง เมื่อคุณให้ความส�าคัญกับชีวิตตัวเองเป็นอันดับแรก คุณจะมองเรื่องการท�างานอย่างเป็นกลาง ก่อนตัดสินใจ ท�างาน คุณควรคิดว่า “งานนั้นเป็นสิ่งที่ตัวเองสมควรท�าจริงๆ หรือไม่” อย่าให้ความส�าคัญกับงานเป็นอันดับแรกโดยไม่มี ปากไม่มีเสียง ค�าว่า“ชีวิต”ส�าหรับคนเยอรมันไม่ใช่สภาพความเป็นอยู่ โดยทั่วไปแต่มีค่าเทียบเท่ากับครอบครัวพวกเขาให้ความส�าคัญ กับการใช้เวลาร่วมกับครอบครัวหรือหุ้นส่วนชีวิตมากที่สุด ชีวิตต้องมาก่อนงาน คู่สามีภรรยาชาวเยอรมันจะแบ่งหน้าที่กันไปรับส่งลูก