SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 31
Descargar para leer sin conexión
โครงสร้างแฟมข้อมูล
           ้
สาระการเรียนรู้
  ส่วนประกอบของแฟ้ มข้ อมูล
  ประเภทของฐานข้ อมูล
  เอนทิตี
  ระบบฐานข้ อมูลในโปรแกรมประยุกต์
ส่วนประกอบของแฟมข้อมูล
                 ้
บิต (Bit: Binary digit) เป็ นโครงสร้ างการเก็บข้ อมูลในหน่วยความจําคอมพิวเตอร์ ซึ)งแทนค่าด้ วยระบบ
เลขฐานสอง ได้ แก่ 0 และ 1
ไบต์ (Byte) หมายถึง ข้ อมูลที)เป็ นตัวอักขระทั0งหมด หนึ)งไบต์มีค่าเท่ากับ แปดบิต เมื)อมีข้อมูลรับเข้ าใน
โปรแกรมประยุกต์ต่างๆ โปรแกรมจะทําการแปลความหมายจากตัวอักขระไปเป็ นตัวเลขฐานสองอย่าง
อัตโนมัติ โดยผู้ใช้ ไม่ต้องมีความรู้เรื)องระบบเลขฐานสอง
เวิรด(word) เป็ นหน่วยข้ อมูลที)มีขนาดใหญ่ข0 ึนมา หนึ)งเวิร์ดประกอบด้ วยข้ อมูลจํานวนสองไบต์หรือสิบ
     ์
หกบิต ใช้ สาหรับการเขียนโปรแกรม
             ํ
เขตข้อมูล (Field) เป็ นหน่วยเล็กที)สดของแฟ้ มข้ อมูล เขตข้ อมูลเป็ นหน่วยข้ อมูลที)มีการกําหนดความ
                                         ุ
กว้ าในการรับข้ อมูลเข้ าในหน่วยความจําเป็ นไบต์ เช่น กําหนดเขตข้ อมูลชื)อ Code ความกว้ า 12 เขต
ข้ อมูลนี0จะรับข้ อมูลได้ ไม่เกิน 12 ตัวอักขระเป็ นต้ น
ระเบียน (Record) หมายถึงชุดข้ อมูลหนึ)งชุดที)ประกอบด้ วยเขตข้ อมูลตั0งแต่หนึ)งเขตข้ อมูลขึ0นไป เช่น
ระเบียนข้ อมูลของนักเรียนหนึ)งคนประกอบด้ วยเขตข้ อมูลเลขประจําตัว เขตข้ อมูลชื)อ และเขตข้ อมูล
นามสกุล เป็ นต้ น
แฟ้ ม (File)ระเบียนข้ อมูลในรูปของตารางข้ อมูล (Table) โดยจัดเรียนเป็ นบรรทัดละหนึ)งระเบียนต่อกัน
ไป หรือจัดเรียนระเบียนเป็ นหน้ าโดยนําเขตข้ อมูลมาวางลงในแต่ละหน้ าเรียกว่าฟอร์มข้ อมูล (Form)
หรือรายงาน (Report) ก็ได้
ประเภทของฐานข้อมูล
       ฐานข้ อมูลเป็ นที)รวมของแฟ้ มข้ อมูลที)ใช้ ในหน่วยงาน เช่น ฐานข้ อมูลของนักเรียนใน
  โรงเรียนประกอบด้ วย แฟ้ มข้ อมูลประวัตินักเรียน แฟ้ มข้ อมูลรายวิชา และผลการเรียน
  แฟ้ มข้ อมูลการชําระเงิน แฟ้ มข้ อมูลประวัติสขภาพ แฟ้ มบันทึกความประพฤติของนักเรียน
                                                    ุ
  เป็ นต้ น ซึ)งแฟ้ มเหล่านี0จะต้ องมีโครงสร้ างที)สมพันธ์กนเพื)อง่ายต่อการนํามาใช้ เช่น
                                                      ั    ั
       ความสัมพันธ์ของแฟ้ มประวัตินักเรียน กับ แฟ้ มผลการเรียนโดยมีเลขประจําตัวเป็ น
       ตัวอ้ างอิง เรียกว่าความสัมพันธ์แบบหนึ)งต่อหนึ)ง (One-to-One)
       ความสัมพันธ์แบบหนึ)งต่อกลุ่ม (One-to-many)เช่น แฟ้ มทะเบียนนักเรียนสัมพันธ์กบ     ั
       แฟ้ มผลการเรียน แฟ้ มบันทึกความประพฤติ และแฟ้ มการชําระเงิน
       ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (many-to-many) เช่น แฟ้ มการสั)งซื0อสินค้ าหลายๆ
       ชนิดที)บันทึกในแฟ้ มสั)งซื0อสินค้ าจากลูกค้ าหลายคน
ประเภทของฐานข้อมูล
โครงสร้ างของฐานข้ อมูลที)มีใช้ ในปัจจุบันแบ่งออกเป็ น 3 แบบดังนี0
1.    ฐานข้ อมูลแบบลําดับชั0น(Hierarchical Database) เป็ นโครงสร้ างแบบต้ นไม้ ท)ี
      ข้ อมูลมีความสัมพันธ์กนแบบหนึ)งต่อหนึ)ง (One-to-One) หรือหนึ)งต่อกลุ่ม (One-to-many)
                                ั
      เช่นพนักงานขายสินค้ า หนึ)งคนสามารถขายสินค้ าให้ ลูกค้ าหลายคน และลูกค้ าแต่ละ
      คนอาจซื0อสินค้ าหลายชนิด
2.    ฐานข้ อมูลเครือข่าย (Network Database) เป็ นฐานข้ อมูลที)มีความสัมพันธ์ได้ ทุก
      แบบ เช่น หนึ)งต่อหนึ)ง (One-to-One) หนึ)งต่อกลุ่ม (One-to-many) หรือกลุ่มต่อกลุ่ม (many-
      to-many) ก็ได้ เช่น ระบบการจําหน่ายสินค้ าในห้ างสรรพสินค้ า
3.    ฐานข้ อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็ นฐานข้ อมูลที)นิยมใช้ มากที)สด      ุ
      ในระบบฐานข้ อมูลและใช้ กบเครื)องคอมพิวเตอร์ทุกระดับ ระเบียนข้ อมูลจะถูกเก็บ
                                    ั
      เป็ นตาราง (Table) ในตารางแต่ละแถวแบ่งออกเป็ นคอลัมน์ หรือสดมภ์ แต่ละ
      สดมภ์เป็ นหนึ)งเขตข้ อมูล (Field) หนึ)งแถวของตารางเป็ นระเบียนข้ อมูลหนึ)งระเบียน
      (Record) ตารางข้ อมูลแต่ละตารางเป็ น แฟ้ มข้ อมูลหนึ)งแฟ้ ม
สิงทีควรรู้
1 แฟ้ มข้ อมูล(File) = หลายตาราง(Table)
1 ตาราง(Table) = มีหลายคอลัมน์(column) หรือสดมภ์
1 คอลัมน์หรืสดมภ์(column) = 1เขตข้ อมูล(Field)
1 แถวของตารางเป็ นระเบียนข้ อมูลหนึ)งระเบียน(Record)
เรียกตามภาษาเฉพาะของระบบฐานข้อมูลคือ
Table เรียกว่า รีเลชัน(Relation)
Column เรียกว่า แอททริบวท์(Attributes)
                           ิ
Record เรียกว่า ทัพเพิลTuple
เอนทิต ี
  เอนทิต(Entity) เป็ นโครงสร้ างที)ได้ ออกแบบตารางาข้ อมูลเป็ นกลุ่ม เช่นกลุ่มของ
        ี
  บุคคล วัตถุ เหตุการณ์ ดังตัวอย่าง


           Entity




                               Attribute
ระบบฐานข้อมูลในโปรแกรมประยุกต์
  โปรแกรม Microsoft Access ประกอบด้ วย
ตาราง (Table) เป็ นแฟ้ มข้ อมูลหลักที)เก็บข้ อมูลในรูปของตารางข้ อมูล ผู้ใช้ โปแกรม
  สามารถสร้ างตารางข้ อมูลได้ หลายตารางในฐานข้ อมูลเดียวกัน และกําหนด
  ความสัมพันธ์ของตารางข้ อมูลได้ หลายแบบ การรับหรือแสดงข้ อมูลจะแสดงเป็ น
  แถว แถวละ หนึ)งระเบียน
แบบสอบถาม (Query) เป็ นการเลือกให้ แสดงข้ อมูลเฉพาะกลุ่มที)ต้องการในกรณีท)ี
  มีข้อมูลจํานวนมาก เช่น แสดงเฉพาะแอททริบวท์ท)เี ลือก หรือแสดงเฉพาะระเบียน
                                               ิ
  หรือกลุ่มของระเบียนที)เลือก นอกจากนี0ยังใช้ ค้นหาและรับเฉพาะข้ อมูลที)ระบุเป็ น
  เงื)อนไข ซึ)งรวมถึงข้ อมูลจากหลายๆตารางได้
ฟอร์ม(Form) ใช้ กาหนดรูปร่างของการรับและแสดงข้ อมูลบนจอภาพ สามารถ
                  ํ
  กําหนดวิธแสดงข้ อมูลเป็ นแบบต่างๆ ตลอดจนเลือกสีฉากหลังของฟอร์มให้ ดู
           ี
  น่าสนใจได้
รายงาน (Report) เป็ นเครื)องมือที)ใช้ นาเสนอข้ อมูลสามารถกําหนดรูปแบบ
                                       ํ
รายงานแทรกภาพ และพิมพ์ทางเครื)องพิมพ์ได้ แต่ละแก้ ไขข้ อมูลในรายงานไม่ได้
นอกจากการรายงานเป็ นเอกสารแล้ วยังสาร้ างงานแบบต่างๆ ได้ เช่น สร้ างป้ ายจ่า
หน้ าจดหมาย แสดงผลรวมในแผนภูมิ
เพจ หรือ Data Access Page คือรูปแบบพิเศษของเว้ บเพจที)ถูกออกแบบ
สําหรับการดูแลการทํางานกับข้ อมูลจากอินเทอร์เน็ต ข้ อมูลจะถูกเก็บอยู่ใน
ฐานข้ อมูล Microsoft Access หรือฐานข้ อมูล Microsoft SQL Server
แมโคร เป็ นที)เก็บชุดคําสั)งควบคุมการทํางานอย่างอัตโนมัตไว้ ผู้ใช้ สามารถเลือกใช้
                                                              ิ
คําสั)งให้ ทางานร่วมกับแฟ้ มที)สร้ างไว้ โดยเลือกคําสั)งในส่วน แอคชัน และกําหนดชื)อ
            ํ
แฟ้ ม และเงื)อนไขในอาร์กวเมนต์แอคชัน เรียกใช้ โดยคลิกปุ่ มเรียกใช้ หรือสร้ างเป็ น
                            ิ
ทางลัดเพื)อเข้ าสู่การทํางานได้ ทนทีโดยไม่ต้องเข้ าสู่ Access ก่อน
                                 ั
โมดูล คือชุดของการประกาศค่า คําสั)ง และกระบวนงานด้ วยคําสั)งของ
Microsoft Visual Basic แล้ วบันทึกไว้ เป็ นชื)อแฟ้ มเพื)อเรียกใช้ ใน
Microsoft Access มีโมดูล 2 ชนิด คือ โมดูลมาตรฐาน และคลาสโมดูล
การวางแผนการออกแบบฐานข้อมูล
 การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis)
 การศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study)
 การวิเคราะห์ความต้ องการของผู้ใช้ (User Requirement Analysis)
 การออกแบบฐานข้ อมูล (Database Design)
 การออกแบบโปรแกรม (Implementation)
 การเขียนโปรแกรม (Programming)
 การทดสอบและแก้ โปรแกรม(Test And Debugging)
 การทําเอกสารคู่มอประกอบโปรแกรม (Documentation)
                 ื
การวิเคราะห์ปญหา (Problem Analysis)
             ั
         การวิเคราะห์ปัญหาความต้ องการของการใช้ ระบบฐานข้ อมูล เช่น ปัญหาจาก
 การขาดประสิทธิภาพของระบบฐานข้ อมูลเดิมที)ไม่สามารตอบสนองความต้ องการ
 ของการใช้ งานในปัจจุบน หรือการวิเคราะห์เพื)อสร้ างฐานข้ อมูลใหม่ เช่น ต้ องการ
                        ั
 สร้ างระบบเสริมการเรียนรู้ด้วย e-learning จะต้ องมีการกําหนดเป้ าหมายให้
 ชัดเจน ว่าต้ องการอะไร มีสมาชิกกี)คน ระดับชั0นใดบ้ าง เป็ นต้ น
การศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study)
 ความเป็ นไปได้ ของเทคโนโลยี
 ความเป็ นไปได้ ของการปฏิบตการ เช่น บุคลากรที)มอยู่สามารถพัฒนาระบบ
                            ั ิ                   ี
 ฐานข้ อมูลได้ หรือไม่
 ความเป็ นไปได้ ทางด้ านเศรษฐศาสตร์ ค่าใช้ จ่ายในการออกแบบและพัฒนาระบบ
 ฐานข้ อมูล
การวิเคราะห์ความต้องการของผู ใ้ ช้ (User Requirement
Analysis)
 สอบถามจากผู้ใช้ โดยตรง เช่น ความต้ องการของผู้บริหาร ความต้ องการข้ อมูลของ
 ผู้ปฏิบตงานแต่ละผ่ายแล้ วจดบันทึกไว้
         ั ิ
 ทําแบบสอบถามเพื)อรวบรวมข้ อมูลความต้ องการใช้ งานเป็ นภาพโดยรวม
 เก็บรวบรวมข้ อมูลเดิมที)มใช้ อยู่ในระบบทั0งข้ อมูลเอกสารและข้ อมูลจาก
                          ี
 คอมพิวเตอร์
 นําข้ อมูลทั0งหมดมาวิเคราะห์เพื)อกําหนดขอบเขตของฐานข้ อมูล
 กําหนดโปรแกรมประยุกต์ท)ใช้ กบฐานข้ อมูล รูปแบบของรายงาน ตลอดจน
                            ี ั
 ฮาร์ดแวร์ท)ต้องมี
               ี
การออกแบบฐานข้อมูล (Database Design)
 ออกแบบฐานข้ อมูล ต้ องทราบว่ามีแฟ้ ม หรือตารางข้ อมูลอะไรบ้ าง แต่ละแฟ้ มเก็บ
 ข้ อมูลอะไร มีการประมวลผลอย่างไร ข้ อมูลใดต้ องนําไปคํานวณ ข้ อมูลใดที)นาไป
                                                                         ํ
 สะสม
   การออกแบบเป็ นผังมโนภาพ (Conceptual Design)
1.รวบรวมข้อมูลรายละเอียดทั'งหมด
2. กําหนดโครงสร้างของตาราง
3. กําหนดคีย ์
4. การทํา Normalization
5. กําหนดความสัมพันธ์

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDskiats
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3nunzaza
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลchanoot29
 
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูลNattipong Siangyen
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2sunisa3112
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์kunanya12
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นtechno UCH
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10nunzaza
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นTophuto Piyapan
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Kochakorn Noiket
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1palmyZommanow
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5palmyZommanow
 

La actualidad más candente (19)

การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
Data Mining
Data MiningData Mining
Data Mining
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
 

Destacado

Effect of armed rebellion on children
Effect of armed rebellion on childrenEffect of armed rebellion on children
Effect of armed rebellion on childrenSidhartha Jatar
 
Learn BEM: CSS Naming Convention
Learn BEM: CSS Naming ConventionLearn BEM: CSS Naming Convention
Learn BEM: CSS Naming ConventionIn a Rocket
 
How to Build a Dynamic Social Media Plan
How to Build a Dynamic Social Media PlanHow to Build a Dynamic Social Media Plan
How to Build a Dynamic Social Media PlanPost Planner
 
SEO: Getting Personal
SEO: Getting PersonalSEO: Getting Personal
SEO: Getting PersonalKirsty Hulse
 
Lightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika Aldaba
Lightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika AldabaLightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika Aldaba
Lightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika Aldabaux singapore
 

Destacado (8)

Effect of armed rebellion on children
Effect of armed rebellion on childrenEffect of armed rebellion on children
Effect of armed rebellion on children
 
Award announcements 2011
Award announcements 2011Award announcements 2011
Award announcements 2011
 
Rural Marketing
Rural MarketingRural Marketing
Rural Marketing
 
Learn BEM: CSS Naming Convention
Learn BEM: CSS Naming ConventionLearn BEM: CSS Naming Convention
Learn BEM: CSS Naming Convention
 
How to Build a Dynamic Social Media Plan
How to Build a Dynamic Social Media PlanHow to Build a Dynamic Social Media Plan
How to Build a Dynamic Social Media Plan
 
SEO: Getting Personal
SEO: Getting PersonalSEO: Getting Personal
SEO: Getting Personal
 
Lightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika Aldaba
Lightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika AldabaLightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika Aldaba
Lightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika Aldaba
 
Succession “Losers”: What Happens to Executives Passed Over for the CEO Job?
Succession “Losers”: What Happens to Executives Passed Over for the CEO Job? Succession “Losers”: What Happens to Executives Passed Over for the CEO Job?
Succession “Losers”: What Happens to Executives Passed Over for the CEO Job?
 

Similar a Database1

Data processing
Data processingData processing
Data processingchukiat008
 
ใบงานมราเเปด
ใบงานมราเเปดใบงานมราเเปด
ใบงานมราเเปดNoot Ting Tong
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1ครูเพชร
 
System development life cycle sdlc
System development life cycle  sdlcSystem development life cycle  sdlc
System development life cycle sdlcKapook Moo Auan
 
System Development Life Cycle S D L C
System  Development  Life  Cycle   S D L CSystem  Development  Life  Cycle   S D L C
System Development Life Cycle S D L CKapook Moo Auan
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5สิรินยา ปาโจด
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5สิรินยา ปาโจด
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Introการพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง IntroJenchoke Tachagomain
 

Similar a Database1 (20)

K8
K8K8
K8
 
Data processing
Data processingData processing
Data processing
 
ใบงานมราเเปด
ใบงานมราเเปดใบงานมราเเปด
ใบงานมราเเปด
 
ใบงาน8
ใบงาน8ใบงาน8
ใบงาน8
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1
 
5
55
5
 
08
0808
08
 
System development life cycle sdlc
System development life cycle  sdlcSystem development life cycle  sdlc
System development life cycle sdlc
 
System Development Life Cycle S D L C
System  Development  Life  Cycle   S D L CSystem  Development  Life  Cycle   S D L C
System Development Life Cycle S D L C
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Introการพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
 
K3
K3K3
K3
 
K3.1
K3.1K3.1
K3.1
 
K3
K3K3
K3
 
K3.1
K3.1K3.1
K3.1
 
K3
K3K3
K3
 
K3
K3K3
K3
 

Más de kruninkppk

Más de kruninkppk (6)

Macro
MacroMacro
Macro
 
Report
ReportReport
Report
 
Form
FormForm
Form
 
Query
QueryQuery
Query
 
Table
TableTable
Table
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

Database1

  • 2. สาระการเรียนรู้ ส่วนประกอบของแฟ้ มข้ อมูล ประเภทของฐานข้ อมูล เอนทิตี ระบบฐานข้ อมูลในโปรแกรมประยุกต์
  • 3. ส่วนประกอบของแฟมข้อมูล ้ บิต (Bit: Binary digit) เป็ นโครงสร้ างการเก็บข้ อมูลในหน่วยความจําคอมพิวเตอร์ ซึ)งแทนค่าด้ วยระบบ เลขฐานสอง ได้ แก่ 0 และ 1 ไบต์ (Byte) หมายถึง ข้ อมูลที)เป็ นตัวอักขระทั0งหมด หนึ)งไบต์มีค่าเท่ากับ แปดบิต เมื)อมีข้อมูลรับเข้ าใน โปรแกรมประยุกต์ต่างๆ โปรแกรมจะทําการแปลความหมายจากตัวอักขระไปเป็ นตัวเลขฐานสองอย่าง อัตโนมัติ โดยผู้ใช้ ไม่ต้องมีความรู้เรื)องระบบเลขฐานสอง เวิรด(word) เป็ นหน่วยข้ อมูลที)มีขนาดใหญ่ข0 ึนมา หนึ)งเวิร์ดประกอบด้ วยข้ อมูลจํานวนสองไบต์หรือสิบ ์ หกบิต ใช้ สาหรับการเขียนโปรแกรม ํ เขตข้อมูล (Field) เป็ นหน่วยเล็กที)สดของแฟ้ มข้ อมูล เขตข้ อมูลเป็ นหน่วยข้ อมูลที)มีการกําหนดความ ุ กว้ าในการรับข้ อมูลเข้ าในหน่วยความจําเป็ นไบต์ เช่น กําหนดเขตข้ อมูลชื)อ Code ความกว้ า 12 เขต ข้ อมูลนี0จะรับข้ อมูลได้ ไม่เกิน 12 ตัวอักขระเป็ นต้ น ระเบียน (Record) หมายถึงชุดข้ อมูลหนึ)งชุดที)ประกอบด้ วยเขตข้ อมูลตั0งแต่หนึ)งเขตข้ อมูลขึ0นไป เช่น ระเบียนข้ อมูลของนักเรียนหนึ)งคนประกอบด้ วยเขตข้ อมูลเลขประจําตัว เขตข้ อมูลชื)อ และเขตข้ อมูล นามสกุล เป็ นต้ น แฟ้ ม (File)ระเบียนข้ อมูลในรูปของตารางข้ อมูล (Table) โดยจัดเรียนเป็ นบรรทัดละหนึ)งระเบียนต่อกัน ไป หรือจัดเรียนระเบียนเป็ นหน้ าโดยนําเขตข้ อมูลมาวางลงในแต่ละหน้ าเรียกว่าฟอร์มข้ อมูล (Form) หรือรายงาน (Report) ก็ได้
  • 4. ประเภทของฐานข้อมูล ฐานข้ อมูลเป็ นที)รวมของแฟ้ มข้ อมูลที)ใช้ ในหน่วยงาน เช่น ฐานข้ อมูลของนักเรียนใน โรงเรียนประกอบด้ วย แฟ้ มข้ อมูลประวัตินักเรียน แฟ้ มข้ อมูลรายวิชา และผลการเรียน แฟ้ มข้ อมูลการชําระเงิน แฟ้ มข้ อมูลประวัติสขภาพ แฟ้ มบันทึกความประพฤติของนักเรียน ุ เป็ นต้ น ซึ)งแฟ้ มเหล่านี0จะต้ องมีโครงสร้ างที)สมพันธ์กนเพื)อง่ายต่อการนํามาใช้ เช่น ั ั ความสัมพันธ์ของแฟ้ มประวัตินักเรียน กับ แฟ้ มผลการเรียนโดยมีเลขประจําตัวเป็ น ตัวอ้ างอิง เรียกว่าความสัมพันธ์แบบหนึ)งต่อหนึ)ง (One-to-One) ความสัมพันธ์แบบหนึ)งต่อกลุ่ม (One-to-many)เช่น แฟ้ มทะเบียนนักเรียนสัมพันธ์กบ ั แฟ้ มผลการเรียน แฟ้ มบันทึกความประพฤติ และแฟ้ มการชําระเงิน ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (many-to-many) เช่น แฟ้ มการสั)งซื0อสินค้ าหลายๆ ชนิดที)บันทึกในแฟ้ มสั)งซื0อสินค้ าจากลูกค้ าหลายคน
  • 5. ประเภทของฐานข้อมูล โครงสร้ างของฐานข้ อมูลที)มีใช้ ในปัจจุบันแบ่งออกเป็ น 3 แบบดังนี0 1. ฐานข้ อมูลแบบลําดับชั0น(Hierarchical Database) เป็ นโครงสร้ างแบบต้ นไม้ ท)ี ข้ อมูลมีความสัมพันธ์กนแบบหนึ)งต่อหนึ)ง (One-to-One) หรือหนึ)งต่อกลุ่ม (One-to-many) ั เช่นพนักงานขายสินค้ า หนึ)งคนสามารถขายสินค้ าให้ ลูกค้ าหลายคน และลูกค้ าแต่ละ คนอาจซื0อสินค้ าหลายชนิด 2. ฐานข้ อมูลเครือข่าย (Network Database) เป็ นฐานข้ อมูลที)มีความสัมพันธ์ได้ ทุก แบบ เช่น หนึ)งต่อหนึ)ง (One-to-One) หนึ)งต่อกลุ่ม (One-to-many) หรือกลุ่มต่อกลุ่ม (many- to-many) ก็ได้ เช่น ระบบการจําหน่ายสินค้ าในห้ างสรรพสินค้ า 3. ฐานข้ อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็ นฐานข้ อมูลที)นิยมใช้ มากที)สด ุ ในระบบฐานข้ อมูลและใช้ กบเครื)องคอมพิวเตอร์ทุกระดับ ระเบียนข้ อมูลจะถูกเก็บ ั เป็ นตาราง (Table) ในตารางแต่ละแถวแบ่งออกเป็ นคอลัมน์ หรือสดมภ์ แต่ละ สดมภ์เป็ นหนึ)งเขตข้ อมูล (Field) หนึ)งแถวของตารางเป็ นระเบียนข้ อมูลหนึ)งระเบียน (Record) ตารางข้ อมูลแต่ละตารางเป็ น แฟ้ มข้ อมูลหนึ)งแฟ้ ม
  • 6. สิงทีควรรู้ 1 แฟ้ มข้ อมูล(File) = หลายตาราง(Table) 1 ตาราง(Table) = มีหลายคอลัมน์(column) หรือสดมภ์ 1 คอลัมน์หรืสดมภ์(column) = 1เขตข้ อมูล(Field) 1 แถวของตารางเป็ นระเบียนข้ อมูลหนึ)งระเบียน(Record) เรียกตามภาษาเฉพาะของระบบฐานข้อมูลคือ Table เรียกว่า รีเลชัน(Relation) Column เรียกว่า แอททริบวท์(Attributes) ิ Record เรียกว่า ทัพเพิลTuple
  • 7. เอนทิต ี เอนทิต(Entity) เป็ นโครงสร้ างที)ได้ ออกแบบตารางาข้ อมูลเป็ นกลุ่ม เช่นกลุ่มของ ี บุคคล วัตถุ เหตุการณ์ ดังตัวอย่าง Entity Attribute
  • 8. ระบบฐานข้อมูลในโปรแกรมประยุกต์ โปรแกรม Microsoft Access ประกอบด้ วย ตาราง (Table) เป็ นแฟ้ มข้ อมูลหลักที)เก็บข้ อมูลในรูปของตารางข้ อมูล ผู้ใช้ โปแกรม สามารถสร้ างตารางข้ อมูลได้ หลายตารางในฐานข้ อมูลเดียวกัน และกําหนด ความสัมพันธ์ของตารางข้ อมูลได้ หลายแบบ การรับหรือแสดงข้ อมูลจะแสดงเป็ น แถว แถวละ หนึ)งระเบียน
  • 9. แบบสอบถาม (Query) เป็ นการเลือกให้ แสดงข้ อมูลเฉพาะกลุ่มที)ต้องการในกรณีท)ี มีข้อมูลจํานวนมาก เช่น แสดงเฉพาะแอททริบวท์ท)เี ลือก หรือแสดงเฉพาะระเบียน ิ หรือกลุ่มของระเบียนที)เลือก นอกจากนี0ยังใช้ ค้นหาและรับเฉพาะข้ อมูลที)ระบุเป็ น เงื)อนไข ซึ)งรวมถึงข้ อมูลจากหลายๆตารางได้
  • 10. ฟอร์ม(Form) ใช้ กาหนดรูปร่างของการรับและแสดงข้ อมูลบนจอภาพ สามารถ ํ กําหนดวิธแสดงข้ อมูลเป็ นแบบต่างๆ ตลอดจนเลือกสีฉากหลังของฟอร์มให้ ดู ี น่าสนใจได้
  • 11. รายงาน (Report) เป็ นเครื)องมือที)ใช้ นาเสนอข้ อมูลสามารถกําหนดรูปแบบ ํ รายงานแทรกภาพ และพิมพ์ทางเครื)องพิมพ์ได้ แต่ละแก้ ไขข้ อมูลในรายงานไม่ได้ นอกจากการรายงานเป็ นเอกสารแล้ วยังสาร้ างงานแบบต่างๆ ได้ เช่น สร้ างป้ ายจ่า หน้ าจดหมาย แสดงผลรวมในแผนภูมิ
  • 12. เพจ หรือ Data Access Page คือรูปแบบพิเศษของเว้ บเพจที)ถูกออกแบบ สําหรับการดูแลการทํางานกับข้ อมูลจากอินเทอร์เน็ต ข้ อมูลจะถูกเก็บอยู่ใน ฐานข้ อมูล Microsoft Access หรือฐานข้ อมูล Microsoft SQL Server
  • 13. แมโคร เป็ นที)เก็บชุดคําสั)งควบคุมการทํางานอย่างอัตโนมัตไว้ ผู้ใช้ สามารถเลือกใช้ ิ คําสั)งให้ ทางานร่วมกับแฟ้ มที)สร้ างไว้ โดยเลือกคําสั)งในส่วน แอคชัน และกําหนดชื)อ ํ แฟ้ ม และเงื)อนไขในอาร์กวเมนต์แอคชัน เรียกใช้ โดยคลิกปุ่ มเรียกใช้ หรือสร้ างเป็ น ิ ทางลัดเพื)อเข้ าสู่การทํางานได้ ทนทีโดยไม่ต้องเข้ าสู่ Access ก่อน ั
  • 14. โมดูล คือชุดของการประกาศค่า คําสั)ง และกระบวนงานด้ วยคําสั)งของ Microsoft Visual Basic แล้ วบันทึกไว้ เป็ นชื)อแฟ้ มเพื)อเรียกใช้ ใน Microsoft Access มีโมดูล 2 ชนิด คือ โมดูลมาตรฐาน และคลาสโมดูล
  • 15. การวางแผนการออกแบบฐานข้อมูล การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis) การศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study) การวิเคราะห์ความต้ องการของผู้ใช้ (User Requirement Analysis) การออกแบบฐานข้ อมูล (Database Design) การออกแบบโปรแกรม (Implementation) การเขียนโปรแกรม (Programming) การทดสอบและแก้ โปรแกรม(Test And Debugging) การทําเอกสารคู่มอประกอบโปรแกรม (Documentation) ื
  • 16. การวิเคราะห์ปญหา (Problem Analysis) ั การวิเคราะห์ปัญหาความต้ องการของการใช้ ระบบฐานข้ อมูล เช่น ปัญหาจาก การขาดประสิทธิภาพของระบบฐานข้ อมูลเดิมที)ไม่สามารตอบสนองความต้ องการ ของการใช้ งานในปัจจุบน หรือการวิเคราะห์เพื)อสร้ างฐานข้ อมูลใหม่ เช่น ต้ องการ ั สร้ างระบบเสริมการเรียนรู้ด้วย e-learning จะต้ องมีการกําหนดเป้ าหมายให้ ชัดเจน ว่าต้ องการอะไร มีสมาชิกกี)คน ระดับชั0นใดบ้ าง เป็ นต้ น
  • 17. การศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study) ความเป็ นไปได้ ของเทคโนโลยี ความเป็ นไปได้ ของการปฏิบตการ เช่น บุคลากรที)มอยู่สามารถพัฒนาระบบ ั ิ ี ฐานข้ อมูลได้ หรือไม่ ความเป็ นไปได้ ทางด้ านเศรษฐศาสตร์ ค่าใช้ จ่ายในการออกแบบและพัฒนาระบบ ฐานข้ อมูล
  • 18. การวิเคราะห์ความต้องการของผู ใ้ ช้ (User Requirement Analysis) สอบถามจากผู้ใช้ โดยตรง เช่น ความต้ องการของผู้บริหาร ความต้ องการข้ อมูลของ ผู้ปฏิบตงานแต่ละผ่ายแล้ วจดบันทึกไว้ ั ิ ทําแบบสอบถามเพื)อรวบรวมข้ อมูลความต้ องการใช้ งานเป็ นภาพโดยรวม เก็บรวบรวมข้ อมูลเดิมที)มใช้ อยู่ในระบบทั0งข้ อมูลเอกสารและข้ อมูลจาก ี คอมพิวเตอร์ นําข้ อมูลทั0งหมดมาวิเคราะห์เพื)อกําหนดขอบเขตของฐานข้ อมูล กําหนดโปรแกรมประยุกต์ท)ใช้ กบฐานข้ อมูล รูปแบบของรายงาน ตลอดจน ี ั ฮาร์ดแวร์ท)ต้องมี ี
  • 19. การออกแบบฐานข้อมูล (Database Design) ออกแบบฐานข้ อมูล ต้ องทราบว่ามีแฟ้ ม หรือตารางข้ อมูลอะไรบ้ าง แต่ละแฟ้ มเก็บ ข้ อมูลอะไร มีการประมวลผลอย่างไร ข้ อมูลใดต้ องนําไปคํานวณ ข้ อมูลใดที)นาไป ํ สะสม การออกแบบเป็ นผังมโนภาพ (Conceptual Design)
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30.