SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 29
Descargar para leer sin conexión
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com
12 กุมภาพันธ์ 2558
Peter F. Drucker
PUBLICATION DATE: January 01, 2005
Best of HBR 1999.
 Peter F. Drucker เป็นศาสตราจารย์ (กิตติคุณ) Marie Rankin
Clarke ด้าน Social Science and Management ที่ Claremont
Graduate University แคลิฟอร์เนีย
 เขาเป็นชาวอเมริกันที่เป็นชาวออสเตรียโดยกาเนิด เขาเป็ นที่
ปรึกษาด้านการจัดการ การศึกษา และนักประพันธ์ เขามีส่วน
ร่วมในการเขียนปรัชญารากฐาน และแนวทางการปฏิบัติของ
องค์กรธุรกิจที่ทันสมัย
 เขายังเป็นผู้นาในการพัฒนาการศึกษาด้านการจัดการ เขาคิดค้น
แนวคิดเรียกว่า การจัดการโดยวัตถุประสงค์ (management by
objectives) และเขาได้รับการยกย่องว่าเป็น ผู้ก่อตั้งการบริหาร
จัดการยุคใหม่ (the founder of modern management)
 Throughout history, people had little need to manage their careers--they were born into their stations
in life or, in the recent past, relied on their companies to chart their career paths.
 But times have drastically changed. Today we must all learn to manage ourselves. What does that
mean? As Peter Drucker tells us in this seminal article first published in 1999, it means we have to
learn to develop ourselves. It may seem obvious that people achieve results by doing what they are
good at and by working in ways that fit their abilities. But, Drucker says, very few people actually
know--let alone take advantage of--their fundamental strengths.
 He challenges each of us to ask ourselves: What are my strengths? How do I perform? What are my
values? Where do I belong? What should my contribution be? Don't try to change yourself, Drucker
cautions. Instead, concentrate on improving the skills you have and accepting assignments that are
tailored to your individual way of working. If you do that, you can transform yourself from an ordinary
worker into an outstanding performer.
 Today's successful careers are not planned out in advance. They develop when people are prepared for
opportunities because they have asked themselves those questions and rigorously assessed their
unique characteristics.
ประเด็นในเรื่อง การพัฒนาตนเอง
 1. อะไรคือจุดแข็งของฉัน? (What are my strengths?)
 2. ฉันทาได้ดีเพียงใด? (How do I perform?)
 3. ค่านิยมของฉันคืออะไร? (What are my values?)
 4. ฉันควรจะเป็นและอยู่ที่ไหนดี? (Where do I belong?)
 5. สิ่งที่ฉันควรจะมีส่วนสนับสนุนคืออะไร? (What should I
contribute?)
 ความรับผิดชอบต่อความสัมพันธ์ (Responsibility of
relationships)
 ช่วงครึ่งหลังของชีวิต (The Second Half Of Your Life)
เกริ่นนา
 การประสบความสาเร็จในเศรษฐกิจฐานความรู้ คือผู้ที่รู้จุดแข็ง
ของตัวเอง มีค่านิยม และมีวิธีการที่ดีที่สุดที่พวกเขาใช้
ดาเนินการ (Success in the knowledge economy comes to those
who know themselves-their strengths, their values, and how
they best perform)
 ประวัติของผู้ที่ประสบความสาเร็จในอดีต คือผู้ที่มีการบริหาร
จัดการตนเองอยู่เสมอ
กล่าวโดยทั่วไป
 เราจะต้องเรียนรู้ที่จะจัดการกับตัวเอง
 เราจะต้องมีการพัฒนาตัวเอง
 เราจะต้องวางตัวเอง ในที่ที่เราสามารถมีผลงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุด
 เราจะต้องระลึกไว้เสมอว่า ในช่วง 50 ปีของชีวิตการทางาน เมื่อ
ถึงจุด ๆ หนึ่ง ต้องรู้จักวิธีการและเวลาที่จะเปลี่ยนงานที่ทา
1. อะไรคือจุดแข็งของฉัน?
 รู้ว่าอะไรคือสิ่งที่คุณทาได้ดี มันเป็นการง่ายที่จะรู้ในสิ่งที่เราทาได้
ไม่ดี มากกว่าการรู้ว่าสิ่งที่เราทาได้ดี
 เราไม่สามารถสร้างประสิทธิภาพการทางานได้บนจุดอ่อน ซึ่งอาจ
ทาให้เราไม่สามารถทาอะไรได้เลย
 บุคคลสามารถดาเนินการได้ โดยอาศัยจุดแข็งเท่านั้น
 ให้ค้นพบจุดแข็งของคุณผ่าน การวิเคราะห์ข้อเสนอแนะ
(feedback analysis)
การวิเคราะห์ข้อเสนอแนะ
 เป็นวิธีเดียวที่ใช้ระบุจุดแข็งของคุณ
 เขียนผลที่คาดหวังจากการตัดสินใจที่สาคัญและการกระทาของคุณ
จากนั้น 9-12 เดือนต่อมา ให้เปรียบเทียบกับผลลัพธ์
 แผนดาเนินการ:
 ใส่จุดแข็งของคุณที่ทาให้เกิดผลลัพธ์
 ทางานเพื่อปรับปรุงจุดแข็งของคุณ
 หลีกเลี่ยงความหยิ่งทางปัญญา - หาทักษะที่จาเป็น
 แก้ไขนิสัยที่ไม่ดี; การขาดมารยาท
 รู้ในสิ่งที่จะไม่ทา – ระบุความไร้ความสามารถ และพยายามหลีกเลี่ยง
กลยุทธ์
1. เน้นจุดแข็งของคุณ (ให้ใช้จุดแข็งที่สามารถผลิตผลลัพธ์)
2. ปรับปรุงจุดแข็งของคุณ (พัฒนาทักษะของคุณหรือหามาใหม่)
3. ค้นพบความเย่อหยิ่งทางปัญญาของคุณที่เป็นสาเหตุของความ
ล้มเหลว แล้วเอาชนะมันให้ได้ (แก้ไขนิสัยที่ไม่ดีของคุณ)
2. ฉันทาได้ดีเพียงใด?
 ขึ้นกับลักษณะของบุคลิกภาพ – วิธีการดาเนินการที่บุคคลที่ทา
ได้ดีหรือไม่ดี เพราะแต่ละคนมีการทางานและการดาเนินการที่
แตกต่างกัน
 วิธีการที่คนดาเนินการที่ไม่ซ้ากัน: เรื่องของบุคลิกภาพ
 คนจานวนมากทางานในรูปแบบที่ไม่ได้เป็นวิธีการของพวกเขา
 อย่าพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงตัวเอง (มากเกินไป) – ให้ทางาน
หนักเพื่อปรับปรุงวิธีที่คุณใช้ดาเนินการ
เราเป็นผู้อ่านหรือผู้ฟัง?
 ผู้อ่านเช่น ประธานาธิบดีเคนเนดี้ หรือรัฐมนตรีแมคนามารา ที่
ชอบอ่านรายงาน ในการแถลงข่าวหรือการอภิปราย
 ผู้ฟังเช่น ประธานาธิบดีรูสเวลท์ ชอบการฟังและพูดคุย มากกว่า
การอ่านและการเขียน
 ผู้อ่านไม่สามารถกลายเป็นผู้ฟังได้อย่างเต็มที่ – และในทานอง
เดียวกัน
เราเรียนรู้ได้อย่างไร?
 คนเราอาจจะได้เรียนรู้จากการอ่าน การเขียน การทา การพูด
การฟัง หรือการรวมกันของวิธีดังกล่าว
 เราจะต้องใช้วิธีการที่ได้ผล สาหรับเราเอง
3. ค่านิยมของฉันคืออะไร?
 การทดสอบกับกระจก (mirror test) : อย่างมีจริยธรรมถาม
ตัวเองว่า คนแบบไหนที่ฉันต้องการที่จะเห็นในกระจกในตอน
เช้า?
 ค่านิยม (values) เป็นการทดสอบที่ดีที่สุด (ultimate test)
สาหรับการทางานที่เข้ากันได้ขององค์กรกับคุณ
3. ค่านิยมของฉันคืออะไร? (ต่อ)
 ความขัดแย้งค่านิยมที่ควรหลีกเลี่ยงคือ
 ความมุ่งมั่นขององค์กร ระหว่างพนักงานใหม่กับพนักงานเก่า
 การปรับปรุงที่ค่อย ๆ เพิ่มขึ้ น หรือพัฒนาอย่างก้าวกระโดด
 การเน้นผลในระยะสั้น เทียบกับเป้าหมายระยะยาว
 คุณภาพเทียบกับปริมาณ
 การเจริญเติบโตเมื่อเทียบกับความอยู่รอด
4. ฉันควรจะเป็นและอยู่ที่ไหนดี?
 นักคณิตศาสตร์ นักดนตรี และพ่อครัว มักจะแสดงออกในขณะที่พวก
เขามีอายุสี่หรือห้าปี
 คนที่มีพรสวรรค์สูง ควรจะต้องตระหนักในช่วงต้นของชีวิตว่า พวก
เขาควรเป็นหรือไม่ควรเป็นอะไร
 การประสบความสาเร็จในอาชีพไม่ได้เกิดจากวางแผน
 ผู้ประสบความสาเร็จในอาชีพ เกิดจากมีการพัฒนาเตรียมไว้ก่อนสาหรับ
โอกาสที่จะมาถึง เพราะพวกเขารู้จุดแข็งของพวกเขา วิธีการของพวกเขาใน
การทางาน และค่านิยมของพวกเขา
 การรู้ตัวตนสามารถเปลี่ยนคนธรรมดา - ขยันและมีความสามารถ แต่อย่าง
อื่นปานกลาง – ให้เป็นผู้ที่มีความโดดเด่น
4. ฉันควรจะเป็นและอยู่ที่ไหนดี? (ต่อ)
 ฉันควรเป็นหรือฉันไม่ควรเป็น ...
 ฉันควรทางานในองค์กรขนาดใหญ่หรือองค์กรขนาดเล็ก?
 "ใช่ฉันจะทาอย่างนั้น " (ในวิถีที่ฉันเป็น)
 ถ้าฉันไม่ชอบการตัดสินใจ ฉันควรจะได้เรียนรู้ที่จะบอกว่าไม่ เมื่อ
มีการมอบหมายให้เป็นผู้ตัดสินใจ
 เมื่อฉันตอบคาถามสามข้อก่อนหน้านี้ แล้ว ทาให้ฉันสามารถและ
ตัดสินใจในสิ่งที่ฉันเป็น
5. สิ่งที่ฉันควรจะมีส่วนสนับสนุนคืออะไร?
 ผู้ปฏิบัติงานที่มีความรู้ ควรแสวงหาการมีส่วนสนับสนุนที่
เกี่ยวข้องกับ:
 สถานการณ์ต้องการอะไร?
 การมีจุดแข็ง วิธีการ และค่านิยมของฉัน สามารถสนับสนุนใน
สิ่งที่ต้องทาอะไรบ้าง?
 อะไรคือผลลัพธ์ที่ได้ที่สร้างความแตกต่าง จากการประสบ
ความสาเร็จ?
5. สิ่งที่ฉันควรจะมีส่วนสนับสนุนคืออะไร? (ต่อ)
 ไม่ควรมองไกลไปข้างหน้าเกิน 18 เดือน ควรมีการวางแผนที่จะ -
 ให้บรรลุผลลัพธ์ที่มีความหมายและสร้างความแตกต่าง
 ยืดเป้าหมายที่มีความลาบากแต่สามารถทาให้สาเร็จได้
 สามารถมองเห็นผลได้และสามารถวัดผลได้
 กาหนดแนวทางของการกระทาว่า: จะทาอย่างไร ที่ใด วิธีการที่จะ
เริ่มต้น สิ่งที่เป็นเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และกาหนดเวลาเส้นตาย
ความรับผิดชอบต่อความสัมพันธ์
 เจ้านายจะไม่ได้ขึ้นกับตาแหน่งในแผนภูมิหรือหน้าที่ - การปรับปรุง
แล้วทาให้เจ้านายมีประสิทธิผล (effective) มากขึ้น เป็นความลับของ
"การจัดการเจ้านาย"
 ความสัมพันธ์ของการทางานขึ้นอยู่กับคนในการทางาน - เพื่อน
ร่วมงานมีความเป็นมนุษย์และความเป็นบุคคลเช่นเดียวกับที่คุณมี
 ความรับผิดชอบของการสื่อสาร เป็นวิธีการที่คุณดาเนินการ เพื่อลด
ความขัดแย้งด้านบุคลิกภาพ
 องค์กรเกิดจากการสร้างความไว้วางใจระหว่างบุคคล - ไม่จาเป็ นต้อง
หมายความว่าพวกเขาชอบกัน - แต่อยู่ที่พวกเขามีความเข้าใจกัน
และกัน
ช่วงครึ่งหลังของชีวิตของคุณ
 การจัดการตนเอง นาไปสู่การเริ่มต้นอาชีพที่สอง:
 เริ่มต้นหนึ่งใหม่ (ย้ายไปยังองค์กรอื่น)
 พัฒนาอาชีพคู่ขนาน (ทาไปพร้อมกับงานปัจจุบัน)
 ผู้ประกอบการทางสังคม (กิจกรรมไม่แสวงหาผลกาไร)
 ผู้ที่จัดการช่วงครึ่งหลังชีวิตของพวกเขา อาจจะเป็นชนกลุ่มน้อย
 ส่วนใหญ่มักจะอยู่จน เกษียณอายุ (retire on the job)
สรุป
 ในยุคอุตสาหกรรมความรู้
 การประสบความสาเร็จส่วนใหญ่ คือไม่ล้มเหลว
 แรงงานที่มีความรู้ ยั่งยืนกว่าองค์กร
 แรงงานที่มีความรู้ มักเคลื่อนที่ และไม่อดทน
 จาเป็นที่จะต้องจัดการตนเอง เป็นการปฏิวัติกิจกรรมของมนุษย์
 การจัดการตนเอง ต้องมีสิ่งใหม่ ๆ ที่เป็นประวัติการณ์ของบุคคล
– ไปยังจุดที่คนงานที่มีความรู้แต่ละคน คิดและมีพฤติกรรม
เช่นเดียวกับซีอีโอ (thinks and behaves like a CEO)
•What are my strengths?
•How do I perform?
•What are my values?
•Where do I belong?
•What should I contribute?
 " Success in the knowledge economy comes to those who know
themselves- their strengths, their values, and how they best
perform."
 "Successful careers are not planned. They develop when people
are prepared for opportunities because they know their
strengths, their method of work, and their values."
 "Taking responsibility for relationships is therefore an absolute
necessity. It is a duty."
(1) use "feedback analysis" to discover and focus on your strengths.
(2) determine how I best perform, as a reader or as a listener,
determine how I learn, and determine if I work well under stress or want
highly structured, predictable environments.
(3) know what my values are, and align my organization with them.
(4) build relationships, and communicate clearly, effectively, constantly
within them, and
(5) after 20 years, most high-performing people will seek out or start
a 2nd career, and planning for it or developing it while in the 1st one is
most successful.
Managing oneself พัฒนาตนเอง
Managing oneself พัฒนาตนเอง

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

17 Leadership Tricks
17 Leadership Tricks17 Leadership Tricks
17 Leadership Tricks
kktv
 
Leadership theories and studies
Leadership theories  and studiesLeadership theories  and studies
Leadership theories and studies
Mariyam Aziz
 
Leadership Theory An Historical Context1
Leadership Theory An Historical Context1Leadership Theory An Historical Context1
Leadership Theory An Historical Context1
guestf1d7d3
 

La actualidad más candente (20)

The NSLS: Leaders Are Made, Not Born
The NSLS: Leaders Are Made, Not BornThe NSLS: Leaders Are Made, Not Born
The NSLS: Leaders Are Made, Not Born
 
8.4 lmx theory full
8.4 lmx theory full8.4 lmx theory full
8.4 lmx theory full
 
Basic conceptual perspectives in management
Basic conceptual perspectives in managementBasic conceptual perspectives in management
Basic conceptual perspectives in management
 
Leadership theories
Leadership theoriesLeadership theories
Leadership theories
 
Leadership in Organizations
Leadership in OrganizationsLeadership in Organizations
Leadership in Organizations
 
Managing Change: Tools and Techniques
Managing Change: Tools and TechniquesManaging Change: Tools and Techniques
Managing Change: Tools and Techniques
 
Kornferry Test Results ALB
Kornferry Test Results ALBKornferry Test Results ALB
Kornferry Test Results ALB
 
Leadership Styles
Leadership StylesLeadership Styles
Leadership Styles
 
Leadership theories
Leadership theoriesLeadership theories
Leadership theories
 
ORGANIZATIONAL POWER AND POLITICS
ORGANIZATIONAL POWER AND POLITICSORGANIZATIONAL POWER AND POLITICS
ORGANIZATIONAL POWER AND POLITICS
 
Ls100 Leadership (Incomplete)
Ls100 Leadership (Incomplete)Ls100 Leadership (Incomplete)
Ls100 Leadership (Incomplete)
 
Chpt 8 Exchange, Theory Approach
Chpt 8 Exchange, Theory ApproachChpt 8 Exchange, Theory Approach
Chpt 8 Exchange, Theory Approach
 
Leadership Styles
Leadership StylesLeadership Styles
Leadership Styles
 
17 Leadership Tricks
17 Leadership Tricks17 Leadership Tricks
17 Leadership Tricks
 
Nature and concept of management
Nature and concept of managementNature and concept of management
Nature and concept of management
 
Leadership theories and studies
Leadership theories  and studiesLeadership theories  and studies
Leadership theories and studies
 
Leadership Theory An Historical Context1
Leadership Theory An Historical Context1Leadership Theory An Historical Context1
Leadership Theory An Historical Context1
 
leadership and management
leadership and management leadership and management
leadership and management
 
Contribution of Peter Drucker in development of management thoughts
Contribution of Peter Drucker in development of management thoughtsContribution of Peter Drucker in development of management thoughts
Contribution of Peter Drucker in development of management thoughts
 
theories of leadership
 theories of leadership theories of leadership
theories of leadership
 

Destacado

The acceleration trap กับดักการเร่ง
The acceleration trap กับดักการเร่งThe acceleration trap กับดักการเร่ง
The acceleration trap กับดักการเร่ง
maruay songtanin
 
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขันHealth care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
maruay songtanin
 
The right to win กลยุทธ์เพื่อสิทธิที่จะชนะ
The right to win กลยุทธ์เพื่อสิทธิที่จะชนะThe right to win กลยุทธ์เพื่อสิทธิที่จะชนะ
The right to win กลยุทธ์เพื่อสิทธิที่จะชนะ
maruay songtanin
 
10 steps to an award application - 10 ขั้นตอนการเขียนรายงาน
10 steps to an award application - 10 ขั้นตอนการเขียนรายงาน10 steps to an award application - 10 ขั้นตอนการเขียนรายงาน
10 steps to an award application - 10 ขั้นตอนการเขียนรายงาน
maruay songtanin
 
EdPEx for internal assessment การประเมินภายในตามแนวทาง EdPEx
EdPEx for internal assessment การประเมินภายในตามแนวทาง EdPExEdPEx for internal assessment การประเมินภายในตามแนวทาง EdPEx
EdPEx for internal assessment การประเมินภายในตามแนวทาง EdPEx
maruay songtanin
 
Lessons from great family businesses การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน
Lessons from great family businesses การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืนLessons from great family businesses การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน
Lessons from great family businesses การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน
maruay songtanin
 
Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม
Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิมMake better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม
Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม
maruay songtanin
 
Strategy definition กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร
Strategy definition กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหารStrategy definition กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร
Strategy definition กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร
maruay songtanin
 
Board of directors คณะกรรมการบริหาร
Board of directors คณะกรรมการบริหารBoard of directors คณะกรรมการบริหาร
Board of directors คณะกรรมการบริหาร
maruay songtanin
 
Team building การสร้างทีม
Team building การสร้างทีมTeam building การสร้างทีม
Team building การสร้างทีม
maruay songtanin
 
Strategic five - 5 หลักกลยุทธ์
Strategic five - 5 หลักกลยุทธ์Strategic five - 5 หลักกลยุทธ์
Strategic five - 5 หลักกลยุทธ์
maruay songtanin
 
Strategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน
Strategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากันStrategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน
Strategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน
maruay songtanin
 
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านายDo you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
maruay songtanin
 

Destacado (20)

The acceleration trap กับดักการเร่ง
The acceleration trap กับดักการเร่งThe acceleration trap กับดักการเร่ง
The acceleration trap กับดักการเร่ง
 
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขันHealth care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
 
The right to win กลยุทธ์เพื่อสิทธิที่จะชนะ
The right to win กลยุทธ์เพื่อสิทธิที่จะชนะThe right to win กลยุทธ์เพื่อสิทธิที่จะชนะ
The right to win กลยุทธ์เพื่อสิทธิที่จะชนะ
 
10 steps to an award application - 10 ขั้นตอนการเขียนรายงาน
10 steps to an award application - 10 ขั้นตอนการเขียนรายงาน10 steps to an award application - 10 ขั้นตอนการเขียนรายงาน
10 steps to an award application - 10 ขั้นตอนการเขียนรายงาน
 
Rethinking hr
Rethinking hrRethinking hr
Rethinking hr
 
How to prepare application report การจัดเตรียมรายงาน
How to prepare application report การจัดเตรียมรายงานHow to prepare application report การจัดเตรียมรายงาน
How to prepare application report การจัดเตรียมรายงาน
 
EdPEx for internal assessment การประเมินภายในตามแนวทาง EdPEx
EdPEx for internal assessment การประเมินภายในตามแนวทาง EdPExEdPEx for internal assessment การประเมินภายในตามแนวทาง EdPEx
EdPEx for internal assessment การประเมินภายในตามแนวทาง EdPEx
 
People before strategy
People before strategyPeople before strategy
People before strategy
 
Lessons from great family businesses การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน
Lessons from great family businesses การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืนLessons from great family businesses การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน
Lessons from great family businesses การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน
 
Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม
Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิมMake better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม
Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม
 
Strategy definition กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร
Strategy definition กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหารStrategy definition กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร
Strategy definition กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร
 
Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ
Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศIntroduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ
Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ
 
Comment guidelines 2015 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
Comment guidelines 2015 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น Comment guidelines 2015 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
Comment guidelines 2015 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
 
Board of directors คณะกรรมการบริหาร
Board of directors คณะกรรมการบริหารBoard of directors คณะกรรมการบริหาร
Board of directors คณะกรรมการบริหาร
 
Team building การสร้างทีม
Team building การสร้างทีมTeam building การสร้างทีม
Team building การสร้างทีม
 
Strategic five - 5 หลักกลยุทธ์
Strategic five - 5 หลักกลยุทธ์Strategic five - 5 หลักกลยุทธ์
Strategic five - 5 หลักกลยุทธ์
 
From learning to writing การเรียนรู้สู่การเขียน
From learning to writing การเรียนรู้สู่การเขียนFrom learning to writing การเรียนรู้สู่การเขียน
From learning to writing การเรียนรู้สู่การเขียน
 
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
 
Strategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน
Strategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากันStrategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน
Strategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน
 
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านายDo you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
 

Similar a Managing oneself พัฒนาตนเอง

Drucker - Managing Oneself การจัดการตนเอง.pptx
Drucker - Managing Oneself การจัดการตนเอง.pptxDrucker - Managing Oneself การจัดการตนเอง.pptx
Drucker - Managing Oneself การจัดการตนเอง.pptx
maruay songtanin
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124
guest417609
 
Change strategic management
Change strategic managementChange strategic management
Change strategic management
capercom
 
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำLeadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
maruay songtanin
 
โครงการสัมมนาใช้จริง
โครงการสัมมนาใช้จริงโครงการสัมมนาใช้จริง
โครงการสัมมนาใช้จริง
thawiwat dasdsadas
 
10 Tips for Effective Leadership: 10 กลเม็ดผู้นำ .pdf
10 Tips for Effective Leadership:  10 กลเม็ดผู้นำ .pdf10 Tips for Effective Leadership:  10 กลเม็ดผู้นำ .pdf
10 Tips for Effective Leadership: 10 กลเม็ดผู้นำ .pdf
maruay songtanin
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
Sawittri Phaisal
 
Balancing your life สมดุลชีวิต: การงาน ครอบครัว และตัวเอง
Balancing your life สมดุลชีวิต: การงาน ครอบครัว และตัวเองBalancing your life สมดุลชีวิต: การงาน ครอบครัว และตัวเอง
Balancing your life สมดุลชีวิต: การงาน ครอบครัว และตัวเอง
maruay songtanin
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
ma020406
 

Similar a Managing oneself พัฒนาตนเอง (20)

Drucker - Managing Oneself การจัดการตนเอง.pptx
Drucker - Managing Oneself การจัดการตนเอง.pptxDrucker - Managing Oneself การจัดการตนเอง.pptx
Drucker - Managing Oneself การจัดการตนเอง.pptx
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
 
Change strategic management
Change strategic managementChange strategic management
Change strategic management
 
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำLeadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
 
โครงการสัมมนาใช้จริง
โครงการสัมมนาใช้จริงโครงการสัมมนาใช้จริง
โครงการสัมมนาใช้จริง
 
10 Tips for Effective Leadership: 10 กลเม็ดผู้นำ .pdf
10 Tips for Effective Leadership:  10 กลเม็ดผู้นำ .pdf10 Tips for Effective Leadership:  10 กลเม็ดผู้นำ .pdf
10 Tips for Effective Leadership: 10 กลเม็ดผู้นำ .pdf
 
Super motivation 2 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่ 2
Super motivation 2 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่ 2 Super motivation 2 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่ 2
Super motivation 2 การจูงใจที่เป็นเลิศ ภาคที่ 2
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
Balancing your life สมดุลชีวิต: การงาน ครอบครัว และตัวเอง
Balancing your life สมดุลชีวิต: การงาน ครอบครัว และตัวเองBalancing your life สมดุลชีวิต: การงาน ครอบครัว และตัวเอง
Balancing your life สมดุลชีวิต: การงาน ครอบครัว และตัวเอง
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
แรงงาน 4.0
แรงงาน 4.0แรงงาน 4.0
แรงงาน 4.0
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
 

Más de maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
maruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
maruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
maruay songtanin
 

Más de maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

Managing oneself พัฒนาตนเอง

  • 1. พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 12 กุมภาพันธ์ 2558
  • 2. Peter F. Drucker PUBLICATION DATE: January 01, 2005 Best of HBR 1999.
  • 3.  Peter F. Drucker เป็นศาสตราจารย์ (กิตติคุณ) Marie Rankin Clarke ด้าน Social Science and Management ที่ Claremont Graduate University แคลิฟอร์เนีย  เขาเป็นชาวอเมริกันที่เป็นชาวออสเตรียโดยกาเนิด เขาเป็ นที่ ปรึกษาด้านการจัดการ การศึกษา และนักประพันธ์ เขามีส่วน ร่วมในการเขียนปรัชญารากฐาน และแนวทางการปฏิบัติของ องค์กรธุรกิจที่ทันสมัย  เขายังเป็นผู้นาในการพัฒนาการศึกษาด้านการจัดการ เขาคิดค้น แนวคิดเรียกว่า การจัดการโดยวัตถุประสงค์ (management by objectives) และเขาได้รับการยกย่องว่าเป็น ผู้ก่อตั้งการบริหาร จัดการยุคใหม่ (the founder of modern management)
  • 4.  Throughout history, people had little need to manage their careers--they were born into their stations in life or, in the recent past, relied on their companies to chart their career paths.  But times have drastically changed. Today we must all learn to manage ourselves. What does that mean? As Peter Drucker tells us in this seminal article first published in 1999, it means we have to learn to develop ourselves. It may seem obvious that people achieve results by doing what they are good at and by working in ways that fit their abilities. But, Drucker says, very few people actually know--let alone take advantage of--their fundamental strengths.  He challenges each of us to ask ourselves: What are my strengths? How do I perform? What are my values? Where do I belong? What should my contribution be? Don't try to change yourself, Drucker cautions. Instead, concentrate on improving the skills you have and accepting assignments that are tailored to your individual way of working. If you do that, you can transform yourself from an ordinary worker into an outstanding performer.  Today's successful careers are not planned out in advance. They develop when people are prepared for opportunities because they have asked themselves those questions and rigorously assessed their unique characteristics.
  • 5. ประเด็นในเรื่อง การพัฒนาตนเอง  1. อะไรคือจุดแข็งของฉัน? (What are my strengths?)  2. ฉันทาได้ดีเพียงใด? (How do I perform?)  3. ค่านิยมของฉันคืออะไร? (What are my values?)  4. ฉันควรจะเป็นและอยู่ที่ไหนดี? (Where do I belong?)  5. สิ่งที่ฉันควรจะมีส่วนสนับสนุนคืออะไร? (What should I contribute?)  ความรับผิดชอบต่อความสัมพันธ์ (Responsibility of relationships)  ช่วงครึ่งหลังของชีวิต (The Second Half Of Your Life)
  • 6. เกริ่นนา  การประสบความสาเร็จในเศรษฐกิจฐานความรู้ คือผู้ที่รู้จุดแข็ง ของตัวเอง มีค่านิยม และมีวิธีการที่ดีที่สุดที่พวกเขาใช้ ดาเนินการ (Success in the knowledge economy comes to those who know themselves-their strengths, their values, and how they best perform)  ประวัติของผู้ที่ประสบความสาเร็จในอดีต คือผู้ที่มีการบริหาร จัดการตนเองอยู่เสมอ
  • 7. กล่าวโดยทั่วไป  เราจะต้องเรียนรู้ที่จะจัดการกับตัวเอง  เราจะต้องมีการพัฒนาตัวเอง  เราจะต้องวางตัวเอง ในที่ที่เราสามารถมีผลงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุด  เราจะต้องระลึกไว้เสมอว่า ในช่วง 50 ปีของชีวิตการทางาน เมื่อ ถึงจุด ๆ หนึ่ง ต้องรู้จักวิธีการและเวลาที่จะเปลี่ยนงานที่ทา
  • 8. 1. อะไรคือจุดแข็งของฉัน?  รู้ว่าอะไรคือสิ่งที่คุณทาได้ดี มันเป็นการง่ายที่จะรู้ในสิ่งที่เราทาได้ ไม่ดี มากกว่าการรู้ว่าสิ่งที่เราทาได้ดี  เราไม่สามารถสร้างประสิทธิภาพการทางานได้บนจุดอ่อน ซึ่งอาจ ทาให้เราไม่สามารถทาอะไรได้เลย  บุคคลสามารถดาเนินการได้ โดยอาศัยจุดแข็งเท่านั้น  ให้ค้นพบจุดแข็งของคุณผ่าน การวิเคราะห์ข้อเสนอแนะ (feedback analysis)
  • 9. การวิเคราะห์ข้อเสนอแนะ  เป็นวิธีเดียวที่ใช้ระบุจุดแข็งของคุณ  เขียนผลที่คาดหวังจากการตัดสินใจที่สาคัญและการกระทาของคุณ จากนั้น 9-12 เดือนต่อมา ให้เปรียบเทียบกับผลลัพธ์  แผนดาเนินการ:  ใส่จุดแข็งของคุณที่ทาให้เกิดผลลัพธ์  ทางานเพื่อปรับปรุงจุดแข็งของคุณ  หลีกเลี่ยงความหยิ่งทางปัญญา - หาทักษะที่จาเป็น  แก้ไขนิสัยที่ไม่ดี; การขาดมารยาท  รู้ในสิ่งที่จะไม่ทา – ระบุความไร้ความสามารถ และพยายามหลีกเลี่ยง
  • 10.
  • 11. กลยุทธ์ 1. เน้นจุดแข็งของคุณ (ให้ใช้จุดแข็งที่สามารถผลิตผลลัพธ์) 2. ปรับปรุงจุดแข็งของคุณ (พัฒนาทักษะของคุณหรือหามาใหม่) 3. ค้นพบความเย่อหยิ่งทางปัญญาของคุณที่เป็นสาเหตุของความ ล้มเหลว แล้วเอาชนะมันให้ได้ (แก้ไขนิสัยที่ไม่ดีของคุณ)
  • 12. 2. ฉันทาได้ดีเพียงใด?  ขึ้นกับลักษณะของบุคลิกภาพ – วิธีการดาเนินการที่บุคคลที่ทา ได้ดีหรือไม่ดี เพราะแต่ละคนมีการทางานและการดาเนินการที่ แตกต่างกัน  วิธีการที่คนดาเนินการที่ไม่ซ้ากัน: เรื่องของบุคลิกภาพ  คนจานวนมากทางานในรูปแบบที่ไม่ได้เป็นวิธีการของพวกเขา  อย่าพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงตัวเอง (มากเกินไป) – ให้ทางาน หนักเพื่อปรับปรุงวิธีที่คุณใช้ดาเนินการ
  • 13. เราเป็นผู้อ่านหรือผู้ฟัง?  ผู้อ่านเช่น ประธานาธิบดีเคนเนดี้ หรือรัฐมนตรีแมคนามารา ที่ ชอบอ่านรายงาน ในการแถลงข่าวหรือการอภิปราย  ผู้ฟังเช่น ประธานาธิบดีรูสเวลท์ ชอบการฟังและพูดคุย มากกว่า การอ่านและการเขียน  ผู้อ่านไม่สามารถกลายเป็นผู้ฟังได้อย่างเต็มที่ – และในทานอง เดียวกัน
  • 14. เราเรียนรู้ได้อย่างไร?  คนเราอาจจะได้เรียนรู้จากการอ่าน การเขียน การทา การพูด การฟัง หรือการรวมกันของวิธีดังกล่าว  เราจะต้องใช้วิธีการที่ได้ผล สาหรับเราเอง
  • 15. 3. ค่านิยมของฉันคืออะไร?  การทดสอบกับกระจก (mirror test) : อย่างมีจริยธรรมถาม ตัวเองว่า คนแบบไหนที่ฉันต้องการที่จะเห็นในกระจกในตอน เช้า?  ค่านิยม (values) เป็นการทดสอบที่ดีที่สุด (ultimate test) สาหรับการทางานที่เข้ากันได้ขององค์กรกับคุณ
  • 16. 3. ค่านิยมของฉันคืออะไร? (ต่อ)  ความขัดแย้งค่านิยมที่ควรหลีกเลี่ยงคือ  ความมุ่งมั่นขององค์กร ระหว่างพนักงานใหม่กับพนักงานเก่า  การปรับปรุงที่ค่อย ๆ เพิ่มขึ้ น หรือพัฒนาอย่างก้าวกระโดด  การเน้นผลในระยะสั้น เทียบกับเป้าหมายระยะยาว  คุณภาพเทียบกับปริมาณ  การเจริญเติบโตเมื่อเทียบกับความอยู่รอด
  • 17. 4. ฉันควรจะเป็นและอยู่ที่ไหนดี?  นักคณิตศาสตร์ นักดนตรี และพ่อครัว มักจะแสดงออกในขณะที่พวก เขามีอายุสี่หรือห้าปี  คนที่มีพรสวรรค์สูง ควรจะต้องตระหนักในช่วงต้นของชีวิตว่า พวก เขาควรเป็นหรือไม่ควรเป็นอะไร  การประสบความสาเร็จในอาชีพไม่ได้เกิดจากวางแผน  ผู้ประสบความสาเร็จในอาชีพ เกิดจากมีการพัฒนาเตรียมไว้ก่อนสาหรับ โอกาสที่จะมาถึง เพราะพวกเขารู้จุดแข็งของพวกเขา วิธีการของพวกเขาใน การทางาน และค่านิยมของพวกเขา  การรู้ตัวตนสามารถเปลี่ยนคนธรรมดา - ขยันและมีความสามารถ แต่อย่าง อื่นปานกลาง – ให้เป็นผู้ที่มีความโดดเด่น
  • 18. 4. ฉันควรจะเป็นและอยู่ที่ไหนดี? (ต่อ)  ฉันควรเป็นหรือฉันไม่ควรเป็น ...  ฉันควรทางานในองค์กรขนาดใหญ่หรือองค์กรขนาดเล็ก?  "ใช่ฉันจะทาอย่างนั้น " (ในวิถีที่ฉันเป็น)  ถ้าฉันไม่ชอบการตัดสินใจ ฉันควรจะได้เรียนรู้ที่จะบอกว่าไม่ เมื่อ มีการมอบหมายให้เป็นผู้ตัดสินใจ  เมื่อฉันตอบคาถามสามข้อก่อนหน้านี้ แล้ว ทาให้ฉันสามารถและ ตัดสินใจในสิ่งที่ฉันเป็น
  • 19. 5. สิ่งที่ฉันควรจะมีส่วนสนับสนุนคืออะไร?  ผู้ปฏิบัติงานที่มีความรู้ ควรแสวงหาการมีส่วนสนับสนุนที่ เกี่ยวข้องกับ:  สถานการณ์ต้องการอะไร?  การมีจุดแข็ง วิธีการ และค่านิยมของฉัน สามารถสนับสนุนใน สิ่งที่ต้องทาอะไรบ้าง?  อะไรคือผลลัพธ์ที่ได้ที่สร้างความแตกต่าง จากการประสบ ความสาเร็จ?
  • 20. 5. สิ่งที่ฉันควรจะมีส่วนสนับสนุนคืออะไร? (ต่อ)  ไม่ควรมองไกลไปข้างหน้าเกิน 18 เดือน ควรมีการวางแผนที่จะ -  ให้บรรลุผลลัพธ์ที่มีความหมายและสร้างความแตกต่าง  ยืดเป้าหมายที่มีความลาบากแต่สามารถทาให้สาเร็จได้  สามารถมองเห็นผลได้และสามารถวัดผลได้  กาหนดแนวทางของการกระทาว่า: จะทาอย่างไร ที่ใด วิธีการที่จะ เริ่มต้น สิ่งที่เป็นเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และกาหนดเวลาเส้นตาย
  • 21. ความรับผิดชอบต่อความสัมพันธ์  เจ้านายจะไม่ได้ขึ้นกับตาแหน่งในแผนภูมิหรือหน้าที่ - การปรับปรุง แล้วทาให้เจ้านายมีประสิทธิผล (effective) มากขึ้น เป็นความลับของ "การจัดการเจ้านาย"  ความสัมพันธ์ของการทางานขึ้นอยู่กับคนในการทางาน - เพื่อน ร่วมงานมีความเป็นมนุษย์และความเป็นบุคคลเช่นเดียวกับที่คุณมี  ความรับผิดชอบของการสื่อสาร เป็นวิธีการที่คุณดาเนินการ เพื่อลด ความขัดแย้งด้านบุคลิกภาพ  องค์กรเกิดจากการสร้างความไว้วางใจระหว่างบุคคล - ไม่จาเป็ นต้อง หมายความว่าพวกเขาชอบกัน - แต่อยู่ที่พวกเขามีความเข้าใจกัน และกัน
  • 22.
  • 23. ช่วงครึ่งหลังของชีวิตของคุณ  การจัดการตนเอง นาไปสู่การเริ่มต้นอาชีพที่สอง:  เริ่มต้นหนึ่งใหม่ (ย้ายไปยังองค์กรอื่น)  พัฒนาอาชีพคู่ขนาน (ทาไปพร้อมกับงานปัจจุบัน)  ผู้ประกอบการทางสังคม (กิจกรรมไม่แสวงหาผลกาไร)  ผู้ที่จัดการช่วงครึ่งหลังชีวิตของพวกเขา อาจจะเป็นชนกลุ่มน้อย  ส่วนใหญ่มักจะอยู่จน เกษียณอายุ (retire on the job)
  • 24. สรุป  ในยุคอุตสาหกรรมความรู้  การประสบความสาเร็จส่วนใหญ่ คือไม่ล้มเหลว  แรงงานที่มีความรู้ ยั่งยืนกว่าองค์กร  แรงงานที่มีความรู้ มักเคลื่อนที่ และไม่อดทน  จาเป็นที่จะต้องจัดการตนเอง เป็นการปฏิวัติกิจกรรมของมนุษย์  การจัดการตนเอง ต้องมีสิ่งใหม่ ๆ ที่เป็นประวัติการณ์ของบุคคล – ไปยังจุดที่คนงานที่มีความรู้แต่ละคน คิดและมีพฤติกรรม เช่นเดียวกับซีอีโอ (thinks and behaves like a CEO)
  • 25. •What are my strengths? •How do I perform? •What are my values? •Where do I belong? •What should I contribute?
  • 26.  " Success in the knowledge economy comes to those who know themselves- their strengths, their values, and how they best perform."  "Successful careers are not planned. They develop when people are prepared for opportunities because they know their strengths, their method of work, and their values."  "Taking responsibility for relationships is therefore an absolute necessity. It is a duty."
  • 27. (1) use "feedback analysis" to discover and focus on your strengths. (2) determine how I best perform, as a reader or as a listener, determine how I learn, and determine if I work well under stress or want highly structured, predictable environments. (3) know what my values are, and align my organization with them. (4) build relationships, and communicate clearly, effectively, constantly within them, and (5) after 20 years, most high-performing people will seek out or start a 2nd career, and planning for it or developing it while in the 1st one is most successful.