SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 14
Descargar para leer sin conexión
CHAPTER 5
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
โรงเรียนบ้านหนองใหญ่ได้รับการบริจาคห้องคอมพิวเตอร์ใหม่ หลังจากที่ได้มี
โครงการผ้าป่าซื้อคอมพิวเตอร์ให้กับโรงเรียน ซึ่ง ผอ.โรงเรียนจึงได้มีนโยบายให้ครูทุก
ระดับชั้นพัฒนาสื่อการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ หรือหากใครที่ยังไม่สามารถสร้างเองได้ก็ให้
บูรณาการคอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอน และเปิดช่วงเวลาให้นักเรียนเข้ามาใช้คอมพิวเตอร์
ได้ผลจากการประเมินการใช้คอมพิวเตอร์ของโรงเรียนในปีที่ผ่านมาพบว่า ครูพัฒนา
สื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดและนาเสนอเนื้อหาการเรียนการ
สอนโดยตรงไปยังผู้เรียน โดยในบทเรียนคอมพิวเตอร์มีการทดสอบ การนาเสนอเนื้อหา การ
ทดสอบหลังเรียน บทบาทผู้เรียนก็ยังเป็นเพียงแค่การท่องจาเนื้อหา ซึ่งไม่ส่งเสริมกระบวนการ
คิด
ปัญหาอีกประการที่พบคือ เมื่อครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเข้าไปใช้คอมพิวเตอร์ก็มักจะใช้
เพื่อเล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social media โดยเฉพาะ face book ซึ่งไม่ได้ใช้
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการแสวงหาและสร้างการเรียนรู้ของตนเอง
ภารกิจ
1. นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาของ
โรงเรียนบ้านหนองใหญ่อย่างไร
2. บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เป็น
อย่างไร
3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการ
เรียนรู้ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
1. นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาของ
โรงเรียนบ้านหนองใหญ่อย่างไร
ครูผู้สอนต้องมองคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางปัญญา และทา
ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องมือทางปัญญาซึ่งเครื่องมือทางปัญญาจะเป็นตัว
สนับสนุน ส่งเสริมและแนะแนว รวมทั้งช่วยขยายฟังก์ชั่นการทางาน
กระบวนการรู้คิด (Cognitive processes) ของมนุษย์ ทั้งในขณะทา
การคิด แก้ปัญหา และการเรียนรู้ โดยผู้เรียนเป็นผู้ควบคุมและใช้เครื่องมือ
ทางปัญญาในลักษณะการสร้างความรู้มากกว่าการจดจาความรู้ซึ่ง
ครูผู้สอนควรนาเครื่องมือทางปัญญามาประยุกต์การเรียนการสอนกับการ
เรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ซึ่งครูจะมีบทบาทคือ
-ผู้แนะนาเมื่อผู้เรียนประสบปัญหา สนับสนุนด้วยการกระตุ้น แนะนา ให้
ผู้เรียนต่อสู้กับปัญหา และเกิดความท้าทายที่จะแก้ปัญหาให้ได้ ซึ่งที่จะทาให้
ผู้เรียนเกิดความสนใจ และได้รับความพึงพอใจในผลของงานที่ได้ลงมือกระทา
-กระตุ้นให้ปฏิบัติงานในกลุ่ม ซึ่งตามการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
มุ่งเน้นเรื่องการมีปฏิสัมพันธ์ในเชิงสังคม คือเด็กจะพัฒนาในกลุ่มของสังคมที่
จัดขึ้น การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมควรจะเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกัน
มากกว่าที่จะแยกผู้เรียนจากคนอื่น ๆ
ซึ่งการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางปัญญา เป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่
1.เครื่องมือค้นพบ (Discovery tools) เป็นเครื่องมือที่สนับสนุนการเสาะแสวงหา
สารสนเทศ การค้นหาข้อมูล เพื่อนามาซึ่งการค้นพบสารสนเทศหรือความรู้ที่ต้องการ
พื้นฐานของเครื่องมือนี้มาจากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา (Cognitive constructivism)
ที่ว่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ลงมือปฏิบัติ (Learningis active process) โดยอาศัย
ประสบการณ์ตรง และค้นหาวิธีการแก้ปัญหา ซึ่งเป็นสิ่งที่จาเป็นต่อการดูดซึมและการ
ปรับเปลี่ยนของข้อมูล
2.เครื่องมือสร้างความรู้ (Knowledge creationtools) เป็นเครื่องมือที่สนับสนุน
การสร้างความรู้ของผู้เรียน ที่เกิดขึ้นในความจาระยะสั้น (Short-term memory) เป็นระยะที่
จะต้องประมวลผลสารสนเทศต่างๆที่รับผ่านเข้ามาจากการบันทึกผัสสะ เพื่อจัดระเบียบ
หมวดหมู สร้างความสัมพันธ์ ซึ่งในการสร้างความรู้นั้นผู้เรียนจะต้องดึงความรู้และ
ประสบการณ์ต่างๆมาใช้ในการสร้างความหมายของตนเองและหากเรื่องที่ต้องสร้างความรู้
เป็นเรื่องที่ยุ่งยาก ซับซ้อน (Ill-structure) และไม่คุ้นเคย ก็จะต้องใช้ความพยายามคิด(Mental
effort)อย่างมาก
เป็นผลให้ใช้ค๊อกนิทีฟโหลด (Cognitive load) มาก จนอาจทาให้ไม่
สามารถสร้างความรู้ได้ดังนั้นเครื่องมือนี้จะไปสนับสนุนการสร้างความหมายของ
ผู้เรียนและยังช่วยลด Cognitive load ดังนั้นครูผู้สอนควรสังเกตนักเรียนอย่างใกล้ชิด
เพื่อคอยช่วยกระตุ้นนักเรียนให้ออกจากปัญหาให้ได้
3.เครื่องมือการสื่อสาร (Communicationtool) เป็นเครื่องมือที่ใช้
สนับสนุนการสื่อสาร สนทนาแลกเปลี่ยนแนวความคิดระหว่างผู้เรียนด้วยกันเอง
และผู้สอน เพื่อสร้างชุมชนในการเรียนรู้และสังคมของผู้เรียน สิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่เชื่อเรื่องปฏิสัมพันธ์เชิงสังคมมีผลต่อการสร้าง
ความรู้
2. บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เป็นอย่างไร
1. การใช้คอมพิวเตอร์เป็นครู
เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดและนาเสนอเนื้อหา
การเรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) การเรียน
การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นฐาน (CBI) หรือการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยเรียนรู้
(CAL) ซึ่งเป็นการนาเสนอการเรียนการสอนโดยการให้ผู้เรียนได้รับกิจกรรม การ
ทดสอบผู้เรียน ผลการประเมินการตอบสนองจากผู้เรียนด้วยการให้ผลป้อนกลับ
และกาหนดกิจกรรมที่เหมาะสมต่อไปเพื่อให้ผู้เรียนกระทาตามบทเรียนเป็นลาดับ
ขั้นของกิจกรรมการเรียนการสอน
2.การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วย
บทบาทของคอมพิวเตอร์ในฐานะเป็นเครื่องมือ
ช่วยผู้เรียนในการทางานประจาต่างๆเกี่ยวกับการเรียน
และงานที่ครูมอบหมาย เช่น การทารายงาน การคิด
คานวณ การสร้างผลงานกราฟิก เป็นต้น ซึ่งผู้เรียน
สามารถเลือกใช้โปรแกรมในการช่วยสร้างผลงานให้
สาเร็จตามเป้าหมายได้เช่น โปรแกรม Power point
presentationโปรแกรม Microsoft assess เป็นต้น
3.การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียนคือวิธีการแบบเปิด (Open-ended approach)
ที่อาศัยความสามารถของผู้เรียนในการสร้างความเข้าใจของตนเองเกี่ยวกับเนื้อหา
และวิธีการใช้คอมพิวเตอร์ บทบาทของผู้เรียนเป็นผู้สอนและบทบาทของ
คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความเข้าใจปัญหาบางอย่างหรือเนื้อหาที่ใช้
ในการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ในวิถีทางที่ทาให้คอมพิวเตอร์นั้นเข้าใจคาสั่งและ
สามารถทางานตามที่ต้องการได้
3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ตาม
สาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดและนาเสนอ
เนื้อหาทางคณิตศาสตร์ไปยังผู้เรียนและใช้ในการประเมินนักเรียน โดยให้
นักเรียนทาแบบทดสอบในคอมพิวเตอร์ และนักเรียนสามารถตรวจคาตอบได้
เลย จากเฉลยคาตอบแบบละเอียดที่อยู่ถัดจากการทาแบบทดสอบ นักเรียนจะ
ได้ทาความเข้าใจได้ด้วยตนเอง
1. การใช้คอมพิวเตอร์เป็นครู
2.การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วย
ให้นักเรียนทาโครงงานทางคณิตศาสตร์กลุ่มละประมาณ 4-5 คน
จากนั้นนาเสนอผลงานโดยใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ โดยให้นักเรียน
ศึกษาโปรแกรมเองภายในกลุ่ม ว่าอยากที่จะนาเสนอผลงานของตนเองใน
รูปแบบใด ใช้เป็นตัวคานวณในสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการจะคานวณเพื่อนาไป
ประยุกต์ใช้กับงานที่ตนเองจะต้องทาเรียกโปรแกรมนี้ว่าElectronic
spreadsheetsและใช้ในการส่งงานไปยังอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้สะดวก
รวดเร็วในการทางานและสามารถที่จะนางานที่ส่งมาปรับเปลี่ยนแก้ไขได้
ไม่ต้องเสียเวลาในการเดินทางไปส่งเนื่องจากคอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่อ
เข้าหากันได้
3.การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน
โดยการใช้คอมพิวเตอร์วิธีนี้จะเป็นการใช้เกี่ยวกับการ
แก้ปัญหาปลายเปิดโดยผู้สอนจะตั้งสร้างสถานการณ์ปัญหามา
และให้ผู้เรียนไปหาคาตอบโดยวิธีการใช้โปรแกรมทาง
คอมพิวเตอร์ค้นหาคาตอบซึ่งผู้เรียนจะต้องเป็นผู้สั่งการ
คอมพิวเตอร์ด้วยโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์อย่างง่าย เช่น
LOGO, BASIC, C เป็นต้น
สมาชิก
นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง 563050111-3
นางสาวรติยากร คชา 563050126-0
นางสาวศินารักษ์ สุขโต 563050140-6
นางสาวนิดาวรรณ เพียสุพรรณ 563050370-9

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Wuth Chokcharoen
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Aa-bb Sangwut
 
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
Chater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningChater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningMod DW
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Dee Arna'
 

La actualidad más candente (15)

Chap 5
Chap 5Chap 5
Chap 5
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
นวัต5
นวัต5นวัต5
นวัต5
 
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningChater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for Learning
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter5้้
Chapter5้้Chapter5้้
Chapter5้้
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 

Destacado

Государственная итоговая аттестация в 2015 году: Сочинение
Государственная итоговая аттестация в 2015 году: СочинениеГосударственная итоговая аттестация в 2015 году: Сочинение
Государственная итоговая аттестация в 2015 году: Сочинениеschool184spb
 
Diseño para todos fernández aldana
Diseño para todos fernández aldanaDiseño para todos fernández aldana
Diseño para todos fernández aldanaMara894
 
대신리포트_모닝미팅_141118
대신리포트_모닝미팅_141118대신리포트_모닝미팅_141118
대신리포트_모닝미팅_141118DaishinSecurities
 
Hasil musren dusun karangpucung
Hasil musren dusun karangpucung Hasil musren dusun karangpucung
Hasil musren dusun karangpucung Asepnurdiaman
 
Aponte_Presentación Final
Aponte_Presentación FinalAponte_Presentación Final
Aponte_Presentación Finalcarlosim94
 
Adaptación curricular no significativa personalizada
Adaptación curricular no significativa personalizadaAdaptación curricular no significativa personalizada
Adaptación curricular no significativa personalizadaEmma García Cabezas
 
Diapositivas libros blog
Diapositivas libros blogDiapositivas libros blog
Diapositivas libros blogVale Soria
 
Regiones del PERÚ
Regiones del PERÚRegiones del PERÚ
Regiones del PERÚRebeca
 
Formato+proyectos+de+aula luis
Formato+proyectos+de+aula luisFormato+proyectos+de+aula luis
Formato+proyectos+de+aula luissanpablo1
 
Adaptación curricular no significativa
Adaptación curricular no significativaAdaptación curricular no significativa
Adaptación curricular no significativaEmma García Cabezas
 
Informe, Tarea 6, Ergonomia
Informe, Tarea 6, ErgonomiaInforme, Tarea 6, Ergonomia
Informe, Tarea 6, ErgonomiaMara894
 
Deusto graduen gida 15 16 (eusk)
Deusto graduen gida 15 16 (eusk)Deusto graduen gida 15 16 (eusk)
Deusto graduen gida 15 16 (eusk)mendeorien
 
Diseño para todos
Diseño para todosDiseño para todos
Diseño para todosMara894
 
Ppt ikasleak 2014 15
Ppt ikasleak 2014 15Ppt ikasleak 2014 15
Ppt ikasleak 2014 15mendeorien
 
Daerahyang sudah selesai nip k2
Daerahyang sudah selesai nip k2Daerahyang sudah selesai nip k2
Daerahyang sudah selesai nip k2Tri Anto
 
Итоговая аттестация в 2015 году
Итоговая аттестация в 2015 годуИтоговая аттестация в 2015 году
Итоговая аттестация в 2015 годуschool184spb
 
Formato proyectos de aula jose armando alto san juan
Formato proyectos de aula jose armando alto san juanFormato proyectos de aula jose armando alto san juan
Formato proyectos de aula jose armando alto san juansanpablo1
 

Destacado (20)

Государственная итоговая аттестация в 2015 году: Сочинение
Государственная итоговая аттестация в 2015 году: СочинениеГосударственная итоговая аттестация в 2015 году: Сочинение
Государственная итоговая аттестация в 2015 году: Сочинение
 
Diseño para todos fernández aldana
Diseño para todos fernández aldanaDiseño para todos fernández aldana
Diseño para todos fernández aldana
 
대신리포트_모닝미팅_141118
대신리포트_모닝미팅_141118대신리포트_모닝미팅_141118
대신리포트_모닝미팅_141118
 
Hasil musren dusun karangpucung
Hasil musren dusun karangpucung Hasil musren dusun karangpucung
Hasil musren dusun karangpucung
 
Programacion tdah LA SALUD
Programacion tdah LA SALUDProgramacion tdah LA SALUD
Programacion tdah LA SALUD
 
Aponte_Presentación Final
Aponte_Presentación FinalAponte_Presentación Final
Aponte_Presentación Final
 
Adaptación curricular no significativa personalizada
Adaptación curricular no significativa personalizadaAdaptación curricular no significativa personalizada
Adaptación curricular no significativa personalizada
 
Diapositivas libros blog
Diapositivas libros blogDiapositivas libros blog
Diapositivas libros blog
 
Regiones del PERÚ
Regiones del PERÚRegiones del PERÚ
Regiones del PERÚ
 
Encuesta
EncuestaEncuesta
Encuesta
 
La Corrosión
La CorrosiónLa Corrosión
La Corrosión
 
Formato+proyectos+de+aula luis
Formato+proyectos+de+aula luisFormato+proyectos+de+aula luis
Formato+proyectos+de+aula luis
 
Adaptación curricular no significativa
Adaptación curricular no significativaAdaptación curricular no significativa
Adaptación curricular no significativa
 
Informe, Tarea 6, Ergonomia
Informe, Tarea 6, ErgonomiaInforme, Tarea 6, Ergonomia
Informe, Tarea 6, Ergonomia
 
Deusto graduen gida 15 16 (eusk)
Deusto graduen gida 15 16 (eusk)Deusto graduen gida 15 16 (eusk)
Deusto graduen gida 15 16 (eusk)
 
Diseño para todos
Diseño para todosDiseño para todos
Diseño para todos
 
Ppt ikasleak 2014 15
Ppt ikasleak 2014 15Ppt ikasleak 2014 15
Ppt ikasleak 2014 15
 
Daerahyang sudah selesai nip k2
Daerahyang sudah selesai nip k2Daerahyang sudah selesai nip k2
Daerahyang sudah selesai nip k2
 
Итоговая аттестация в 2015 году
Итоговая аттестация в 2015 годуИтоговая аттестация в 2015 году
Итоговая аттестация в 2015 году
 
Formato proyectos de aula jose armando alto san juan
Formato proyectos de aula jose armando alto san juanFormato proyectos de aula jose armando alto san juan
Formato proyectos de aula jose armando alto san juan
 

Similar a คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5oraya-s
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Nidnoy Thanyarat
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
Unit5sattakamon
Unit5sattakamonUnit5sattakamon
Unit5sattakamonSattakamon
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้JaengJy Doublej
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Fern's Supakyada
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Teerasak Nantasan
 
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Noom Theerayut
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionboomakung
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionboomakung
 

Similar a คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ (15)

สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
 
Unit5sattakamon
Unit5sattakamonUnit5sattakamon
Unit5sattakamon
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)
 
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 

Más de N'Fern White-Choc

Step for learning environments design1 (1)
Step for learning environments design1 (1)Step for learning environments design1 (1)
Step for learning environments design1 (1)N'Fern White-Choc
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรN'Fern White-Choc
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__N'Fern White-Choc
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__N'Fern White-Choc
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาN'Fern White-Choc
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาN'Fern White-Choc
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาN'Fern White-Choc
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอN'Fern White-Choc
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPptการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPptN'Fern White-Choc
 

Más de N'Fern White-Choc (10)

Step for learning environments design1 (1)
Step for learning environments design1 (1)Step for learning environments design1 (1)
Step for learning environments design1 (1)
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPptการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาแบบPpt
 

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้